เมื่อหลักสูตรแกนกลางปี 51 ไม่ตอบโจทย์ หลักสูตรใหม่จึงเป็นทางออกในการพัฒนาเด็ก โรงเรียนแม่คือวิทยาในเชียงใหม่ แสดงให้เห็นผลลัพท์ที่ดี มีทั้งเด็กสนุกและเด็กเก่ง ด้วยการพัฒนาหลักสูตรสมรรถนะ จากพรบ.นวัตกรรมพื้นที่การศึกษา ไม่ต้องรอปฏิรูปใหญ่โต เพียงแต่ทุกฝ่ายต้องปรับเปลี่ยน ทั้งครูและผู้ปกครอง
การตัดสินใจของคณะกรรมการ สปสช. อนุมัติงบประมาณจัดซื้อยาฮอร์โมนข้ามเพศ 6 รายการภายใต้โครงการ 30 บาทรักษาทุกที่ ถือเป็นเหตุการณ์สำคัญที่สะท้อนทั้งความก้าวหน้าในการยอมรับความหลากหลายทางเพศ และความท้าทายในการบริหารจัดการระบบสุขภาพของประเทศ ท่ามกลางข้อถกเถียงเรื่องความพร้อมของระบบและลำดับความสำคัญ
เวทีระดมความคิดเห็น “ผู้ให้-ผู้รับบริการ” ในระบบบัตรทอง เสนอให้จัดระบบบริหารจัดการงบประมาณใหม่ ปรับระบบเสนอให้แยกเงินเดือนบุคลากรออกจากงบเหมาจ่ายรายหัว, ปรับเพิ่มเพดานการจ่ายชดเชยตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม เป็น 12,000 บาท และเพิ่มงบประมาณสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น และกองทุนดูแลระยะยาว
ถึงแม้จะมีกฎหมายกำหนดให้มีการสอนเพศวิถีศึกษา แต่ในความเป็นจริงเรายังห่างไกล เนื่องจาก 'การพัฒนาครู' เป็นหนึ่งในคำตอบที่จะทำให้การเรียนการสอนเพศวิถีศึกษาเกิดขึ้นในห้องเรียน ดังนั้น รัฐบาลต้องจริงจังกับการสนับสนุนและช่วยเหลือด้านทรัพยากรการเรียนรู้ในโรงเรียน
สองทศวรรษ “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” ที่ยังเผชิญปัญหางบประมาณ แม้จะเพิ่มงบประมาณมาโดยตลอด แต่ยังมีสัดส่วนโรงพยาบาลขาดทุน 24 % ของโรงพยาบาลทั้งหมด ขณะที่เสียงเรียกร้องอยากให้มีแก้ปัญหากลไกการเบิกจ่าย โดยเฉพาะปัญหา อัตราการจ่ายต่อแต้ม (AdjRW)ไม่สอดคล้องกับต้นทุนค่ารักษาที่เกิดขึ้นจริง
ทั่วโลกยังปล่อยก๊าซคาร์บอนเพิ่มทุบสถิติ แม้มีความพยายามร่วมกันลดปล่อยก๊าซ แต่ทำไม่ได้จริง อาจชี้ให้เห็นว่าโลกมนุษย์กำลังเกินหน้าสู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว ที่ไม่อาจย้อนกลับไปได้ โดยคาดว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้า อุณหภูมิโลกจะผ่านจุดเปลี่ยนสำคัญ เพิ่มเหนือระดับก่อนอุตสาหกรรม 1.5 องศาเซียลเซียส
ความไม่แน่นอนทางการเมืองเพิ่มสูงขึ้น แต่ยังมีกฎหมายสำคัญ ๆ ยังค้างสภาผู้แทนราษฎรอีกจำนวนมาก 35 ฉบับ โดยในช่วง 2 ปี รัฐบาลเพื่อไทย มีกฎหมายผ่านการพิจารณาประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 16 ฉบับ ขณะที่รัฐบาลเหลือเวลาบริหารอีกราว 2 ปี ท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองเริ่มปะทุขึ้น ทั้งในสภาฯและนอกสภาฯ
หลังประเทศไทยปลดล็อก “กัญชาเสรี” ทำให้กัญชากลับมาอยู่ในบัญชียาเสพติดอีกครั้ง หลังจากไม่มี พ.ร.บ.ควบคุมชัดเจน ทำให้เกิด “สุญญากาศกฎหมาย” แต่ในช่วง 3 ปี แห่งนโยบายกัญชาเสรี พบว่ามีผู้ป่วยจากพิษกัญชา โรคจิต และการเสพติดเพิ่มขึ้นหลายเท่า ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยนอก-ใน โดยเฉพาะในพื้นที่ท่องเที่ยว
ยังคงข้อถกเถียงว่าประเทศไทยควรจะยืดอายุเกษียณจาก 60 ปี เป็น 65-70 ปีหรือไม่ เพื่อรับมือกับสังคมผู้สูงวัยระดับสุดยอด ขณะที่สังคมไทยมีผู้สูงอายจำนวนมาก 86 % ยังคงทำงานนอกระบบ แต่ไม่มีสวัสดิการคุ้มครอง
"รถไฟฟ้า 20 บาทตลอดสาย" มาตามนัด แม้การเมืองยังมีความเสี่ยง รัฐบาลประกาศเดือนส.ค. นี้ เปิดลงทะเบียนผู้ต้องการใช้บริการ ผ่านแอพฯ’ทางรัฐ’ ใช้ได้ทุกสาย เริ่ม 30 ก.ย. 68
"กัญชาเสรี" หรือ ปลดกัญชาออกบัญชียาเสพติด ไปไม่ถึงฝั่ง เมื่อ "สมศักดิ์ เทพสุทิน" รมว.สาธารณสุขจากพรรคเพื่อไทย ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข ถึงกัญชากลับมาเป็นยาเสพติดอีกครั้ง หลังผ่านไป 3 ปี ตั้งแต่ปลายสมัยรัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์
อนุมัติแล้วมาตรการส่งเสริมประหยัดพลังงาน เปลี่ยนเรื่องจักรและอปุกรณ์ประหยัดพลังงาน หักค่าใช้จ่ายได้ 1.5 เท่า มีผลถึง 31 ธ.ค. 71 พร้อมสนับสนุนโซลาร์รูปท็อปตามบ้านเรือน ลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 200.000 บาท มีผลถึง 31 ธ.ค. 70 คาด 2 มาตรการ รัฐสูญรายได้ 2.7 หมื่นล้านบาท แต่ช่วยลดการนำเข้าก๊าซกว่าแสนล้านบาท
ธนาคารไร้สาขา หรือ Virtual Bank กำลังจะเกิดขึ้นกลางปีหน้า 3 แห่ง นับเป็นแบงก์พาณิชย์เต็มรูปแบบครั้งแรกหลังวิกฤติการเงินปี 2540 คาดว่าจะเกิดการแข่งขันเสนอผลิตภัณฑ์การเงินใหม่ ๆ กับลูกค้า และลดค่าธรรมเนียมลง แต่จะเกิดขึ้นจริงหรือไม่
ถึงเวลาต้องปรับใช้เทคโนโลยีอย่างจริงจัง เพื่อแก้ปัญหาคอร์รัปชันในไทย ก่อนที่ปัญหาจะเกินเยียวยา คอร์รัปชั่นเรื่อยมา หลังจากดัชนีรับรู้การทุจริต หรือ CPI ของประเทศร่วงต่อเนื่อง โดยเฉพาะในปี 2567 คะแนนที่ต่ำสุดในรอบ 12 ปี ป.ป.ช.หวั่นกระทบลงทุนจากภาพลักษณ์ย่ำแย่
เพศวิถีศึกษา เป็นหนึ่งในวิชาสำคัญตามพรบ.การป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ที่หวังว่าจะมีการบรรจุเป็นวิชาในโรงเรียน แต่ผ่านไปเกือบ 10 ปี ความพยายามแก้ปัญหา "ท้องไม่พร้อม"ในสังคมไทยผ่านหลักสูตรในโรงเรียนไปไม่ถึงไห เมื่อศธ.นำไปไว้ในวิชาสุขศึกษา ขณะเดียวกันก็ไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น
การถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เพื่อปฏิรูประบบสุขภาพปฐมภูมิ ตั้งแต่ปี 2566-2568 เกิดขึ้นจำนวนหลายพันแห่ง แต่ในปี 2569 ตัวเลขถ่ายโอนลดลงเหลือเพียง 22 แห่ง หวั่นความยั่งยืน หันมาเน้นคุณภาพ ทำให้การถ่ายโอนลดลง
นักวิชาการป่าไม้ตั้งคำถาม กลไกคาร์บอนเครดิตในพื้นทีป่าไม้ช่วยลดโลกร้อนได้จริงหรือ? ชี้เป็นแค่กระบวนการฟอกเขียว เปิดทางธุรกิจยังก่อมลพิษที่แหล่งกำเนิดเหมือนเดิม ขณะที่เป้าหมาย Net Zero ของประเทศจะทำได้ ต้องเพิ่มป่ามากมาถึง 30 ล้านไร่ แต่ที่ผ่านมา 40 ปี ไทยไม่เคยเพิ่มพื้นทีป่าไม้ได้สำเร็จ
ขีดความสามารถแข่งขันของไทย “วิกฤต“ ถดถอยในทุกด้าน อันดับลดลง 5 อันดับ อยู่ที่ 30 จากทั้งหมด 69 แห่ สะท้อนมีข้อจำกัดในการรับความผันผวนในโลกยุคใหม่ โลกมาถึง “ยุคชาตินิยมยุคใหม่“ ผู้เชี่ยวชาญแนะถึงช่วงที่ “รอไม่ได้อีกต่อไป“
โรงพยาบาลขาดทุน บัตรทอง ล่มหรือไม่ เป็นคำถามใหญ่ที่ต้องเร่งหาทางออก ชี้ต้องปรับระบบงบประมาณ เหตุเงินบำรุงสุทธิทั้งระบบเหลือเพียง 46,000 ล้านบาท สัญญาณเตือนปี 2570 อาจเกิดปัญหาขาดสภาพคล่องอย่างหนัก
รัฐบาลไฟเขียว ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฉบับใหม่ ใช้แทนฉบับเดิมที่บังคับใช้มายาวนานกว่า 20 ปี กำหนดสิทธิพื้นฐานของเด็กให้ชัดเจนขึ้น และให้หน่วยงานรัฐมีหน้าที่ดูแล พร้อมดึงองค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและหน้าที่ดูแล ขณะที่นักกฎหมายชี้ต้องออกกฏหมายและระเบียบโดยยึด "ประโยชน์สูงสุดของเด็ก" เป็นสำคัญ
รัฐบาลเร่งกำหนดเขตที่ดินทั่วประเทศ ตามแผนที่ One Map หลังครม.อนุมัติตามที่บอร์ดนโยบายที่ดินแห่งชาติเสนอ เร่งกำหนดเขตที่ดินโดยยกเว้นมติครม. 2 ฉบับ ให้ที่ดินของแต่ละหน่วงานรัฐกำหนดเขตที่ดินได้โดยไม่ต้องให้ได้ข้อยุติในการกำหนดเขตร่วมกัน ในขณะที่หลายพื้นที่มีความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะสปก.
คลินิกชุมชนอบอุ่น 276 แห่งในกทม. ในฐานะหน่วยบริการผู้ป่วยปฐมภูมิในระบบหลักประกันสุขภาพ หรือบัตรทอง กำลังวิกฤต แจ้งขอลาออกแล้ว 17 แห่ง คาดว่าจะยื่นลาออกอีก 40 แห่งภายในสิ้น 68 นี้ เหตุรูปแบบการจ่ายเงิน ทำให้ต้องแบบภาระค่าส่งตัวสูง แนะทางรอด ให้แยกงบประมาณส่งตัวออกจากงบค่าใช้จ่ายรายหัว
ซอฟต์พาวเวอร์เป็นนโยบายยุทธศาสตร์รัฐบาลที่จะสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นำไปสู่การตั้ง THACCA เพื่อเชื่อมภาครัฐกับเอกชน แก้กฎหมายและระบบภาษีปลดล็อคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แม้ พ.ร.บ. THACCA ยังไม่ผ่านสภา
รัฐบาลพยายามเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ 40% แต่ผ่านมายาวนานกว่า 40 ปี ทำไม่สำเร็จ พื้นที่ป่ายังคงอยู่ที่ 31% ผู้เชี่ยวชาญป่าไม้ระบุ หากยังรวมศูนย์การจัดการป่าไม้ ขาดการมีส่วนร่วมของชุมชนการเพิ่มพื้นป่ายังเป็นไปได้ยาก พบป่านับแสนไร่ อยู่นอกเขตปกครอง
ในภาคเรียนที่ผ่านมา ผู้เขียนได้รับผิดชอบสอนวิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ ซึ่งทำให้ผู้เขียนมีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้างานวิชาการหลากหลายที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างและบทบาทของสถาบันการเมือง หนึ่งในหัวใจสำคัญของวิชาที่ผู้เขียนเน้นย้ำกับนักศึกษา คือ หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล
สภาพัฒน์ฯรายงานภาวะสังคมไทย ไตรมาส 1/68 พบว่าการจ้างงานหดตัว ลดลง 0.5 % จากไตรมาสหนึ่ง ปี 2567 ขณะที่เด็กจบใหม่ยังเสี่ยงตกงาน เหตุผู้บริหาร 89 % มองว่าเด็กจบใหม่ยังขาดประสบการณ์ ทำงานเป็นทีมไม่เป็น
หากประเทศไทยมีการลุงทุนในการดูแลเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยได้ดี จะสามารถลดต้นทุนทางสังคมได้มากขึ้น แต่ระบบการศึกษาไทยกลับละเลยให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เพราะกฎหมายมีช่องโหว่ นำไปสู่ความเหลื่อมล้ำของเด็กไม่อาจเข้าถึงการศึกษาในชั้นระดับปฐมวัย
เวที Policy Forum จัดเสวนา "บัตรทอง "บนทางแยกไปต่อหรือปรับเปลี่ยนตัวแทนโรงพยาบาล, คลินิกอบอุ่น เตือน ระบบสุขภาพกำลังจะวิกฤติ ชี้ เงินบำรุงและเงินสำรองสุทธิทั้งระบบเหลือแค่ 4.6 หมื่นล้านและมีแนวโน้มลดลงหวั่นปี 2570 เผชิญวิกฤติอีกรอบ แนะรื้อระบบงบประมาณ
ประกันสังคมปรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตน ม.40 ตามกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต บำเหน็จชราภาพ และ สงเคราะห์บุตร ตามภาวะเศรษฐกิจ โดยทุกกรณีจะได้รับเงินทดแทนเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
การเฉลิมฉลองเดือนไพรด์หรือเดือนแห่งความภาคภูมิใจด้านความหลากหลายทางเพศในเดือนมิถุนายน 2568 นี้ เป็นการฉลองเดือนไพรด์ครั้งแรกภายใต้บริบทที่สังคมไทยมีกฎหมายสมรสเท่าเทียม
การปฏิรูปการศึกษาล่าช้า ทำให้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตกต่ำลงเรื่อย ๆ เด็กเผชิญสารพัดปัญหา ทั้งสุขภาพกาย-สุขภาพจิต อัตรานักเรียนป่วยซึมเศร้าเพิ่มขึ้น บุหรี่ไฟฟ้าใกล้โรงเรียน เพิ่มขึ้น ขณะที่เด็กไทยส่วนใหญ่ไม่กินอาหารเช้าก่อนไปโรงเรียนทำให้ ขาดสมาธิในการเรียนรู้
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก รายงานข้อมูลการพยากรณ์สภาพการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอีก 5 ปี ตั้งแต่ปีค.ศ. 2025-2029 แนวโน้มชัดเจนว่าทั่วโลกจะเจอกับสภาพอากาศที่แปรปรวนกว่าปกติ จากอุณหภูมิใช้พื้นผิวโลกสูงกว่า 1.5 °C อย่างถาวร ส่งผลให้ฝน-แล้ง-น้ำแข็งทั่วโลกละลาย เพิ่มมากขึ้น
”ใบส่งตัวบัตรทอง“ ในพื้นที่กทม.ยังเป็นปัญหาใหญ่ ทั้งผู้มีสิทธิรับบริการและสปสช. หลังจากครินนิกชุมชนอบอุ่นประสบปัญหาขาดทุน แต่ปัญหามากกว่านั้นคือการบริหารจัดการ ที่มีความทับซ้อนกันทำให้เกิดรายจ่ายและสร้างภาระด้านงบประมาณต่อระบบโดยรวม แม้จะเป็นระบบบริการที่ดี แต่มีเรื่องต้องปรับปรุงอีกมาก
รัฐบาลเดินหน้านโยบายรถไฟฟ้า 20 บาทตามนโยบายพรรคเพื่อไทยที่หาเสียงไว้ ซึ่งขณะที่การผลักดันกฎหมาย 3 ฉบับที่สำคัญ คือ ร่างพ.ร.บ. รฟม. ,ร่างพ.ร.บ.กรมรางฯ และร่างพ.ร.บ. ตั๋วร่วม โดยตั้งเป้าหมายบังคับใช้ทัน 30 ก.ย. 68 หากไม่สะดุดการเมืองเสียก่อน แต่จะยั่งยืนหรือไม่ขึ้นกับเงินที่จะนำมาใช้บริหารในระยะยาว
ปฏิรูปการศึกษา ล้มเหลวซ้ำซาก ผู้เชี่ยวชาญการศึกษา ระบุ 6 ปัญหาการศึกษาไทยที่ต้องการปฏิรูปการศึกษาแบบเร่งด่วน ที่ผ่านมาทำได้เพียงตั้งคณะกรรมการและกองเอกสาร แต่ไม่มีผลต่อคุณภาพการศึกษา ขณะที่ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ใช้มา 26 ปี ไม่มีการแก้ไข เหตุการเมืองขาดความกล้าหาญตัดสินใจผ่าตัดกระทรวง
แม่น้ำกกและแม่น้ำสาย กำลังเผชิญวิกฤตมลพิษจากสารหนู จากการทำเหมืองแร่ทองคำ และเหมืองแร่แรร์เอิร์ธ ที่รัฐฉานประเทศเมียนมาร์ ขณะที่ไทยยังไม่มีมาตรการคุมแหล่งกำเนิดนอกแดนได้ ทำได้เพียงมาตรการฟื้นฟูในประเทศ โดยอาจประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
ผู้เขียนชวนไล่เรียงปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อทำความเข้าใจภาพใหญ่ และช่วยกันขบคิดอย่างมีสติว่ารัฐบาลและสังคมไทยควรจะเดินหน้าอย่างไร เพื่อหยุดเลือดและสร้างสันติภาพที่ยั่งยืน
ปีนี้น้ำจะท่วมใหญ่ เหมือนปี 54 หรือไม่ เป็นคำถามทุกครั้งเมื่อฝนตกหนัก สำรวจสภาพอากาศปี 54 กับปีนี้ พบว่ามีแบบแผนคล้ายกัน เริ่มจากเปลี่ยนผ่านจาก "เอลนีโญ" สู่ "ลานีญา" และเข้าสู่ "เอ็นโซ" จนเกิดฝนตกหนักหลายพื้นที่ จับตา "ลานีญา" จะกลับมาอีกหรือไม่เหมือนปี 54 ดังนั้น ไม่อาจประมาทได้ว่าจะ"เอาอยู่"
ไขข้อข้องใจ การคำนวณโครงสร้างการรับซื้อไฟฟ้าสีเขียว หรือ Big Lot กว่า 5 พันเมกะวัตต์ ค่าไฟถูกจริงหรือ? เพราะต้องคิดหลายชั้นและซับซ้อน ยันต้นทุนไม่ได้ถูกกว่า ดังที่สนพ.อ้าง เพราะต้องคิดค่าความพร้อมจ่าย หลังผู้ใช้ไฟฟ้าเป้าหมายสมัครซื้อไฟฟ้าสีเขียวไม่มาก ทำให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วไปต้องรับภาระ
เปิด "แผนการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ” ประเมินผลกระทบต่อการตั้งถิ่นฐานของคนไทยในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลายเมืองทั่วประเทศจะเผชิญกับ "ความร้อน-แล้ง-น้ำท่วม" อย่างเลี่ยงไม่ได้ ในระดับต่าง ๆ กัน โดยเฉพาะหัวเมืองหลักตามลุ่มน้ำ เตือนต้องเร่งหามาตรการรับมือ
ภาคใต้ไร้โควตาจับสลากแพทย์ใช้ทุนในปี 2568 ขณะที่ภาคอีสานยังมีโควตา สะท้อนความสำเร็จของโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชนบท หรือ CPIRD แต่ก็เปิดประเด็นใหม่เกี่ยวกับโครงสร้างการจัดสรรแพทย์ในอนาคต เมื่อใคร ๆ ก็อยากทำงานใกล้บ้าน
จากการแถลงตัวชี้เศรษฐกิจของสภาพัฒน์ ว่า เศรษฐกิจไทยไตรมาส 1/2568 ภายใต้รัฐบาลนายกฯ แพทองธาร ชินวัตร โต 3.1% และการให้สัมภาษณ์ของนายเผ่าภูมิ โรจนสกุล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ว่าเป็นการเติบโตที่สูงกว่า 3% ติดต่อกัน 3 ไตรมาส เกิดขึ้นครั้งแรกในรอบ 7 ปี และเป็นครั้งที่ 7 ในประวัติศาสตร์ไทย
เปิดรายงานวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของไทย ระบุต้นทุนจากแสงอาทิตย์ของไทยต่ำกว่าโรงไฟฟ้าก๊าซใหม่ แนะแผน PDP2024 เพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น พร้อมเสนอไม่ควรสร้างโรงไฟฟ้าก๊าซใหม่ ขณะที่ การใช้ระบบดักจับและกักเก็บคาร์บอน (CCS) ไม่ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล และ ยังมีราคาแพงกว่าพลังงานหมุนเวียน
การปฎิรูปการศึกษา พูดกันมานานกว่าครึ่งศตวรรษ แต่การศึกษา “ย่ำอยู่กับที่“ ภาพของการศึกษาไทยยังคงเหมือนเดิม ปัญหาเดิม ๆ ปัญหาความเหลื่อมล้ำระหว่างโรงเรียนยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เผยเครื่องมือประเมินโรงเรียนของไทย ไม่ได้มาตรฐาน ไม่สะท้อนความเป็นจริง ขณะที่คุณภาพนักเรียนย่ำแย่
กระทรวงสาธารณสุขเตรียมเสนอกฎหมายอุ้มบุญใหม่ ก้าวข้ามข้อจำกัดเดิม เพิ่มกลุ่มผู้รับบริการตั้งครรภ์แทน (อุ้มบุญ) ในกลุ่มชาวต่างชาติ เตรียมขยายสิทธิการเข้าถึงของกลุ่มสมรสเท่าเทียม และผู้มีรายได้น้อย
สทนช.ระบายน้ำ 21 เขื่อนรับมืออิทธิพลของ “ลานีญา” ทำให้ปริมาณฝนปี 68 เพิ่มขึ้นอย่างมากในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะในกทม. ฝนถล่มในเดือน พ.ค. มีปริมาณมากกว่าค่าเฉลี่ย 30 ปี ขณะที่กรุงเทพมหานครไม่ห่วงน้ำเหนือ มั่นใจรับมือได้ โดยพัฒนาใช้เอไอช่วยประเมินและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ใช้ 1,900 คลองช่วยระบาย
ระบบธนาคารพาณิชย์ไทยในช่วงไตรมาสแรกยังแข็งแกร่ง แม้ความสามารถในการทำกำไรลดลง ขณะที่แบงก์ชาติห่วงหน้าภาคธุรกิจและครัวเรือน จากภาวะเงินตรึงตัว เสี่ยงกับสงครามการค้าทำให้หนี้ภาคธุรกิจและครัวเรือนเพิ่มขึ้น
สำรวจปัญหาความเหลื่อมล้ำในระบบสุขภาพไทย วิเคราะห์ข้อจำกัดและศักยภาพ 3 กองทุนสุขภาพ "ข้าราชการ-ประกันสังคม-บัตรทอง" สู่มาตรฐานที่เท่าเทียม เสนอ "โมเดลขนมชั้น" หาทางออกลดความเหลื่อมล้ำระบบสุขภาพของประเทศ
สศช.ประเมินยอดจดทะเบียนเลิกกิจการและตั้งใหม่ของนิติบุคคลในไทย พบมีธุรกิจต่างชาติรายใหญ่เข้ามามากขึ้นตั้งแต่หลังโควิด-19 โดยเฉพาะจากจีน อาจส่งผลกระทบต่อเอสเอ็มอีของไทยมากขึ้น และชี้ให้ห็นว่ากำลังมีการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างเศรษฐกิจไทย
นิด้าโพลชี้คนไทยกังวล ปัญหาความเท่าเทียม และคุณภาพการศึกษา ขณะที่เด็กไทยน่าเป็นห่วงเข้าถึงการศึกษาคุณภาพดียาก ค่าใช้จ่ายสูง-ไกลบ้าน และหวังว่ารัฐบาลจะพัฒนาคุณภาพการศึกษา แต่คนไทยบางส่วนสิ้นหวัง เชื่อต้องพึ่งพาตัวเอง
กระทรวงสาธารณสุข เตรียมยกระดับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)จากระเบียบกระทรวงเป็นพระราชบัญญัติเข้าสู่การพิจารณาของสภาฯ หวังปรับสถานภาพ และสิทธิประโยชน์ให้มั่นคง พร้อมระบบสวัสดิการ เพื่อเป็นกำลังสำคัญบริการสาธารณสุข เป็นด่านหน้าดูแลสุขภาพในระดับชุมชนทั่วประเทศ
“ลดคาร์บ ลดโรค” นโยบายของสาธารณสุขล่าสุด ยุค "สมศักดิ์ เทพสุทิน" หวัง "ป้องกันดีกว่ารักษา" แต่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยได้จริงหรือ? สุดท้ายแล้วอาจเป็นเพียงนโยบายเพื่อหวังประหยัดงบประมาณ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้จริง
เริ่มแล้วโครงการ "ทุนการศึกษาเพื่อขยายโอกาสและพัฒนาประเทศ" หรือ ODOS สำหรับครอบครัวที่มีรายได้น้อย เฉลี่ยไม่เกินเดือนละ 12,000 บาท หลังครม.อนุมัติงบกว่า 4 พันล้าน ให้ทุนการศึกษาตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาถึงปริญญาตรี ทั้งใน-ต่างประเทศ รวม 4,800 คน
รัฐบาลกำหนดทิศทางวิจัยการศึกษาของชาติปี 2568-2570 ครั้งแรก แก้ปัญหางานวิจัยด้านการศึกษาไร้ทิศทาง สะเปะสะปะ ไม่สอดคล้องกับบริบทของสังคม จนไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสังคม ตีกรอบ 4 ด้าน จัดระบบโครงสร้างการศึกษา เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน และสร้างระบบนิเวศทางการศึกษาใหม่
รัฐบาลจะผลักดันนโยบายรถไฟฟ้า 20 บาทตลอดสายได้จริงหรือไม่ คาดชดเชยรายได้เอกชน 9.5 พันล้าน และกทม.ขอชดเชยสายสีเขียว 8,000 ล้าน ขณะที่กรมรางฯมั่นใจ 20 บาทตลอดสายทำได้จริง หลังค่าโดยสาร 20 บาท ดันรายได้รถไฟฟ้าสีแดง- ม่วง เพิ่มขึ้น
แบงก์ชาติประเมินล่าสุด ผลกระทบนโยบายทรัมป์ 2.0 ต่อเศรษฐกิจ กระทบรุงแรงและยาวนานกว่านโยบายทรัมป์ 1.0 แต่ยังน้อยกว่าวิกฤตการเงินปี 2552 ประเมินเลี่ยงผลกระทบยาก ประเมินจีดีพีกระทบน้อยสุด 0.4% แต่มากสุดถึง 1%
เปิดรายงาน OECD เผยธุรกิจในไทยกระจุกตัวและขาดการแข่งขัน บริษัท 5% มีรายได้กว่า 85% ของประเทศ ยก 4 ภาคธุรกิจของไทย “สื่อสาร-พลังงาน-ธนาคาร-ประกันภัย” มีปัญหาผูกขาด กระจุกตัว และแข่งขันต่ำ เนื่องจากปัญหาด้านกฎหมาย และไม่มีการเปิดเผยข้อมูล อ้างความลับธุรกิจ
มูดีส์ปรับมุมมองความน่าเชื่อถือของไทย (Outlook) เป็น Negative Outlook โดยปรับลดลงต่อเนื่องในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา แม้ว่าอันดับเครดิตยังไม่เปลี่ยนแปลง แต่เป็นสัญญาณว่าเศรษฐกิจไทยกำลังเผชิญกับปัญหามากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะฐานะการคลังของประเทศ
นโยบายภาษีของทรัมป์ในปัจจุบัน (Trump 2.0) กำลังเร่งให้พลวัตการค้าโลกย้อนกลับไปสู่ “ยุคของการกีดกันทางการค้า” หรือ Protectionism เหมือนที่เคยเกิดขึ้นในอดีต โดยประเทศไทย ซึ่งเป็นประเทศเศรษฐกิจแบบระบบเปิดขนาดเล็ก (Small-open Economy) จะได้รับผลกระทบ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในหลายด้าน
รัฐบาลประกาศ เดือนพฤษภาคมของทุกปี เป็นเดือนแห่งสุขภาพใจ เพื่อร่วมมือสร้างเครือข่ายรับสถานการณ์ผู้ป่วยสุขภาพจิตรุนแรงขึ้น หลังผลกระทบต่อเริ่มมีมากขึ้น ไม่เพียงแค่ระดับครอบครัว แต่รวมถึงสังคมโดยรวม ย้ำ "สุขภาพใจเป็นเรื่องของทุกคน"
สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้กลับมารุนแรงอีกครั้ง กว่า 2 เดือนความขัดแย้งจังหวัดชายแดนใต้ ปะทุรุนแรงกว่า 20 ครั้ง ขณะที่เวทีการเจรจาสันติภาพใต้หยุดนิ่งมากว่า 1 ปี ทำให้เสียงเรียกร้องให้เปิดเจรจารอบใหม่เพื่อดับไฟใต้เกิดขึ้นอีกครั้ง
ประกันสังคมเพิ่ม "เงินทดแทนว่างงาน" สำหรับผู้ประกันจนมาตรา 33 จาก 50% ของค่าจ้างรายวันเป็น 60% รวมไม่เกิน 180 วัน คาดกองทุนประกันสังคมมีภาะปีละพันกว่าล้าน คาดกองทุนมีค่าใช้จ่ายว่างงานเพิ่มจาก 0.53% ของค่าจ้าง เป็น 0.62%
"อาหาร" เป็นหนึ่งในนโยบายซอฟต์พาวเวอร์ ที่รัฐบาลหวังจะผลักดันเป็นยุทธศาสตร์หลักในการยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน แม้ที่ผ่านมา ยังไม่มีความคืบหน้ามากนัก แต่จากการประเมินแนวโน้มธุรกิจอาหาร ที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตลาดกำลังเปิดกว้างสำหรับกลุ่มพรีเมียม รัฐบาลน่าจะเร่งผลักดันอย่างเป็นรูปธรรม
กระแสตีกลับตลาดยานยนต์ เมื่อคนหันมาใช้รถไฮบริด หลังจากผู้บริโภคตื่นกระแสรถยนต์ไฟฟ้าในช่วงก่อนหน้านี้ ไม่เพียงแต่ตลาดในไทย รถยนต์ไฮบริดกลับมาได้รับความนิยมหลายประเทศทั่วโลก เป็นตัวชี้ให้เห็น ว่าช่วยเปลี่ยนผ่านจากการใช้รถน้ำมันยังไม่ราบรื่น
ความหวังการปฏิรูปการศึกษาจากการผลักดัน พ.ร.บ.การศึกษาฉบับใหม่ ยังต้องรอต่อไป แม้มีความพยายามแก้ไขพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 2542 ที่ใช้มานาน 26 ปี เพื่อนำไปสู่การปฏิรูปการศึกษาไทยในหลายด้าน แต่ร่างกฎหมายใหม่ยังไปไม่ถึงไหน ยังไม่ผ่านการพิจารณาของครม. และมีแนวโน้มไม่ทันใช้ในรัฐบาลนี้
ชีวิตประจำวันของคนกรุง เจอปัญหามากมาย แม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่หากพิจารณาลึกลงไป อาจเป็นปัญหาเดิมที่พูดกันมานาน นั่นคือ การกระจายอำนาจ ซึ่งการรวมศูนย์อำนาจการบริหาร ทำให้ไม่มีการแก้ไขปัญหา และหลายปัญหาเรื้อรัง หน่วยงานรัฐบาลกลางควรแบ่งภาระต่างให้กทม. และท้องถิ่นช่วยดูแล
วันแรงงานแห่งชาติ ไม่มีเซอร์ไพรส์ รัฐบาลบริหารประเทศเข้าปีที่ 3 พยายามขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 600 บาทตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา แต่รัฐบาลไร้อำนาจกดดันคณะกรรมการไตรภาคีปรับขึ้นค่าแรงอย่างทั่วถึง สวนทางกับค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น
กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย 0.25% เหลือ 1.75% มีผลทันที ประเมินเศรษฐกิจปีนี้ย่ำแย่ จากนักท่องเที่ยวลดลง และผลกระทบจากสงครามการค้าในครึ่งปีหลัง อาจทำให้เศรษฐกิจไทยปีนี้ขยายตัวแค่ 1.3%
หายนะทางทะเลเริ่มชัดเจนขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อปรากฏการณ์ "ปะการังฟอกขาว" รุนแรงต่อเนื่อง ล่าสุด ปะการังฟอกขาวรุนแรงทั่วโลกครั้งที่ 4 รุนแรงทุบสถิติ กว่า 84% ทั่วโลก ใน 82 ประเทศ กำลังเผชิญกับวิกฤต
คนทำงานกลางแจ้ง ไรเดอร์ คนงานก่อสร้าง กำลังได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพอากาศที่ร้อนขึ้น ขณะที่ไทยยังไม่มีนโยบายและกฎหมายครอบคลุมถึงสวัสดิการคุ้มครองแรงงานเหล่านี้ ขณะที่หลายประเทศเช่น “อินเดีย - การ์ตา -ปารากวัย" ตื่นตัวออกกฎหมายคุ้มครองแรงงานกลางแจ้งที่ต้องทำงานกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศมาตรการคุมกิจกรรมท่องเที่ยวดำน้ำ เพื่อคุ้มครองปะการังที่เสื่อมโทรมจากการท่องเที่ยวและสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง โดยห้ามถ่ายภาพใต้น้ำ-ดำน้ำต้องมี “ผู้ควบคุมที่ได้รับอนุญาต”ไปกับเรือทุกครั้ง ห้ามดำน้ำในแนวปะการัง ห้ามแตะปะการัง สัตว์น้ำและสิ่งมีชีวิตในทะเล
หมอลาออกนับพันคนต่อปี สะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้างในระบบสาธารณสุขไทย "ภาระงานล้นมือ - ขาดแรงจูงใจ -กระจายแพทย์ไม่ทั่วถึง" ขณะที่แนวทางแก้ไขของรัฐยังเน้นแต่การผลิตแพทย์เพิ่ม โดยไม่ตอบโจทย์การรักษาแพทย์ให้อยู่ในระบบ
สตง.ออกเอกสาร ชี้แจง 8 ข้อ ปมสงสัยแก้แบบปล่องลิฟต์ ต้นตอตึกถล่ม ยันเป็นไปตามสัญญาถูกต้องตามกฎหมาย ระบุบีบจนทางเดินแคบไม่ตรงตามกฎกระทรวง เนื่องจากแบบงานโครงสร้างขัดกับงานสถาปัตยกรรมภายใน โดยได้การลดเงิน 5 แสน หลังแก้แบบแล้ว
การถล่มของตึกใหม่ของสตง. นำไปสู่การตรวจสอบความโปร่งใสของโครงการและมาตรฐานการก่อสร้าง ที่พบข้อบกพร่องและพิรุธหลายจุด ทั้งงบประมาณและการฮั้วประมูล การจัดซื้อจัดจ้าง ไปจนถึงบริษัทที่ได้รับการจัดซื้อจัดจ้าง
นโยบายภาษี”ทรัมป์” อาจส่งกระทบต่อ “ผู้เลี้ยงสุกร- โคเนื้อ” ทำให้โครงสร้างราคาหมูในประเทศเปลี่ยน กระทบทั้งห่วงโซ่ เกษตรกร โรงงานอาหารสัตว์ หากไทยยอมเปิดให้มีการนำเข้าเนื้อสุกร และโคเนื้อจากสหรัฐ จนสร้างความเสียหาย
ค่าใช้จ่ายเดินทางไปโรงพยาบาล เป็นอีกหนึ่งในปัญหาใหญ่ของคนที่อาศัยในเมือง สปสช. เปิดโครงการนำร่อง ให้บริการ“รับส่งผู้สูงอายุ- คนพิการ ไปหาหมอ” โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ในพื้นที่ กทม. ตั้งแต่วันนี้ไปจนถึงสิ้นปี 68
ธปท.คาดนโยบายภาษีทรัมป์ เปลี่ยนการค้าโลกครั้งใหญ่ ประเมินเศรษฐกิจไทยปีนี้โตต่ำกว่า 2.5% แต่อาจไม่รุนแรงเท่าวิกฤตโควิด-19 โดยกระทบหนักธุรกิจกลุ่มส่งออกไปสหรัฐฯ แนะไทยเร่งปรับตัวควบคู่กับการเจรจา พร้อมเสนอมาตรการรับมือระยะสั้น-ระยะยาว
ประธานาธิบดีทรัมป์ ประกาศเลื่อนภาษีตอบโต้ เปิดโต๊ะเจรา 90 วัน SCB EIC ประเมินลดผลกระทบไทยแค่ระยะสั้น แต่ไม่ช่วยรอดพ้นวิกฤตจากระบบการค้าโลกยุคใหม่ที่กำลังเข้าสู่ช่วงเวลาแห่งความปั่นป่วน คาดกระทบส่งออกไทย 8.1 แสนล้านบาท หากถูกตั้งภาษี 36%
นโยบายภาษีทรัมป์ (Trump tariffs) ที่ประกาศเมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา กลายมาเป็นความท้าทายใหม่ของเศรษฐกิจไทย ที่ผลกระทบอาจแผ่เป็นวงกว้างและลากยาว และอาจทำให้พัฒนาการของเศรษฐกิจไทยถดถอย บทความนี้พาไปดูว่าทำไมทุกภาคส่วนถึงต้องจับตานโยบายภาษีทรัมป์เป็นพิเศษ
การแก้ไขกฎหมายแรงงาน ขยายสิทธิลาคลอดเป็น 120 วันโดยได้รับค่าจ้าง จะได้รับการพิจารณาในสภาอีกครั้ง แม้ว่าภาคประชาสังคมและขบวนการแรงงานจะเรียกร้องวันลาคลอด 180 วัน เพราะให้ความสำคัญถึงสุขภาพแม่และเด็กเป็นสำคัญ
โลกร้อน การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ เป็นสิ่งที่เราได้ยินมาอยู่เรื่อยๆ และความรุนแรงของภัยธรรมชาตินั้นมีมากขึ้นทุกปี คงเป็นไปได้ยากที่เราจะหยุดวงจรเหล่านี้ แต่สิ่งที่เราทำได้คือการตั้งรับต่อผลกระทบและพยายามลดการปล่อยมลพิษให้ได้มากที่สุด
เหตุการณ์ตึก สตง. ถล่มทำให้คนไทยมองเห็นทุนจีน 'ลึกขึ้น' และ 'หลากหลายมากขึ้น' แต่ทว่าเหตุการณ์ไม่ปกติเหล่านี้กลายเป็นเรื่องปกติสำหรับประเทศไทยได้อย่างไร เราควรตั้งข้อสงสัยต่อกฎหมายหรือผู้ดูแลกฎหมายกันอย่างไร
สถานภาพผู้สูงวัยในสังคมยุคใหม่กำลังกลายเป็นปรากฏการณ์ที่คล้าย ๆ กันทั่วโลก ขณะสังคมไทยก้าวสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ จากจำนวนผู้สูงอายุไทย 13 ล้านคน หรือกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ เผชิญปัญหา”โดดเดี่ยว” ต้องการที่พึ่งพิง มีเงินออมต่ำและหนี้สิน อีกทั้งเข้าไม่ถึงสวัสดิการของรัฐ
ฤดูกาลเกณฑ์ทหารเวียนมาอีกครั้งในช่วงเดือนเม.ย. ของทุกปี แต่นโยบายเปลี่ยนการบังคับเกณฑ์ทหารเป็นสมัครใจของรัฐบาล ยังดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป ตามแผนการปฏิรูปกองทัพของกระทรวงกลาโหม ที่คาดว่าจะยกเลิกระบบการเกณฑ์ทหารได้ในปี 71
นโยบายรถไฟฟ้า 20 บาททุกสาย เปิดลงทะเบียนผ่าน “ทางรัฐ” สิงหาคม เริ่มใช้ได้จริง 30 กันยายน 2568 กรมขนส่งทางราง ชี้ค่าโดยสาร 20 บาทดันผู้โดยสารรถไฟสายสีแดงและม่วงโตต่อเนื่อง
ในช่วงเวลากว่าสองสัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ตกเป็นที่กล่าวถึงและวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง จากเหตุการณ์ตึกถล่มอันเนื่องมาจากแผ่นดินไหวเมื่อ 28 มี.ค. 68 ซึ่งนำไปสู่คำถามเกี่ยวกับบทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของ สตง.
สำรวจ "ใครหนุน-ใครค้าน" สถานบันเทิงครบวงจร แม้รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ยอมถอยเลื่อนการพิจารณาวาระร่างพ.ร.บ. สถานบันเทิงครบวงจร หรือ เอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ออกไปก่อน "ไม่มีกำหนด" แต่กระแสค้าน”บ่อนกาสิโน”จุดติดลุกลามทั่วประเทศ ขณะที่ฝ่ายสนับสนุนไม่กล้าส่งเสียง
อุบัติเหตุบนท้องถนน ที่ทำให้คนเสียชีวิตและทรัพย์สินมากที่สุดในประเทศไทย มาจากจักรยานยนต์ชนมากที่สุด โดยมีอัตราเสียชีวิตทุก 37 นาที โดเฉพาะในช่วงเทศกาล สถิติความสูญเสียจะพุ่งสูงขึ้น ขณะที่พบว่าปัญหาการออกใบอนุญาตขับขี่จักรยานยนต์ยังมีปัญหาขาดความเข้มงวดและทักษะจำเป็นในการขับขี่ปลอดภัย
ผลการสำรวจครัวเรือนภาคเกษตร ย้ำให้เห็นถึงปัญหาเดิม ๆ ของเกษตรกร กว่าครึ่งไร้ที่ทำกิน สัดส่วนเช่าสูงถึง 28.91% ขณะที่พื้นที่เกษตร ใช้ปลูกข้าวมากที่สุด และพบว่ามีการใช้พื้นที่ทำการเกษตรเพิ่มขึ้น
มลพิษทางเสียง ขึ้นแท่นปัญหาใหญ่ของคนในเมืองใหญ่ ติดอันดับเรื่องร้องทุกข์มากที่สุด แซง "แก๊งคอลเซ็นเตอร์" ขณะที่ร้องเรียนปัญหามลพิษ ติดอันดับ 3 รองจากปัญหากลิ่นและฝุ่น แม้ว่าจะมีแผนแก้ปัญหา แต่ยังไม่มีการบังคับใช้กฎหมาย
ครม.ผ่านร่างพรบ.ภาพยนตร์ ฉบับใหม่ หวังลดข้อจำกัดในอุตสาหกรรมภาพยนต์ไทยที่มานานหลายสิบปี ในขณะที่กฎระเบียบต่าง ๆ ก่อนหน้านี้ เป็นอุปสรรคสำคัญในการแข่งขันของหนังไทย เปลี่ยนบทบาทภาครัฐจาก "ฝ่ายกำกับ" มาเป็น "ผู้สนับสนุน" แต่ยังมีความกังวลประเด็นเดิม ๆ คือ การเซ็นเซอร์
รัฐบาลลดหย่อนภาษีนิติบุคคล ซื้อรถยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ หากผลิตและประกอบในประเทศลดหย่อนได้ 100% หากเป็นรถนำเข้าลดหย่อน 50% ใช้สิทธิได้ถึงสิ้นปี 68 คาดจะมีการใช้สิทธิรวม 10,000 คัน รัฐสูญรายได้ 10,600 ล้านบาท
ในช่วงกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมานับตั้งแต่ “แผนปฎิบัติการร่วมเพื่อสันติสุขแบบองค์รวม” (Joint Comprehensive Plan towards Peace, JCPP) ได้ถูกเปิดเผยในหน้าสื่อ ก็เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงแนวทางการพูดคุยฯภายใต้กรอบ JCPP
แจกเงิน 10,000 บาท เฟสแรก กระตุ้นเศรษฐกิจไทยแผ่ว นักเศรษฐศาสตร์ชี้จุดอ่อน ใช้จ่ายได้อิสระ ไร้หลักเกณฑ์ที่ชัด เพราะคนนำไปใช้หนี้ แนะฟื้นเศรษฐกิจให้ได้ผลระยะยาว ต้องทำนโยบายเพิ่มรายได้ประชาชน เพื่อให้เงินที่จ่ายไป 1 บาท หมุนกลับมาได้มากกว่า 1 บาท
'ปุรวิชญ์ วัฒนสุข' จะพาผู้อ่านทำความเข้าใจดัชนีรับรู้การทุจริตในมิติที่ลึกขึ้น นอกเหนือจากตัวเลขที่ปรากฏในรายงานข่าว โดยจะอภิปรายผ่านงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
"สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์" ตั้งข้อสังเกตร่างกฎหมายเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ที่รัฐบาลกำลังผลักดันผ่านสภา ไม่มีการศึกษาความเป็นไปได้ แต่มีการหยิบยกเหตุผลที่น่าสงสัย รวมถึงไม่มีความชัดเจนเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคมที่เกิดขึ้น และเปิดทางให้ฝ่ายการเมือง
สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อของญี่ปุ่น กังวลอัตราการเกิดของไทยต่ำและสังคมสูงอายุ ฉุดการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว ส่วนเรื่องสัดส่วนหนี้สาธารณะ ยังมั่นใจว่ารัฐบาลคุมอยู่ ไม่เกิน 70% ของจีดีพี
IQAir เป็นบริษัทเทคโนโลยีคุณภาพอากาศในสวิตเซอร์แลนด์ รายงานคุณภาพอากาศทั่วโลกในปีที่ผ่านมา ระบุในอาเซียนดีขึ้น โดยอันดับไทยขยับขึ้น ขณะที่กทม.เป็นเมืองที่มีสภาพอากาศยอดแย่อันดับ 42 ของโลก แแต่เชียงใหม่ครองแชมป์อากาศยอดแย่ในไทย
คณะกรรมาธิการยุโรปแจงสภา เตือนไทยหลายครั้งประเด็นแก้กฎหมายประมง กระทบต่อความพยายามในการปราบปรามการทำประมงผิดกฎหมาย ขู่การผ่อนปรน IUU ไม่อาจยอมรับได้ อาจกระทบเจรจา FTA