20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด
เหตุการณ์สึนามิ ปี 2547 เป็นจุดเริ่มต้นของระบบจัดการภัยพิบัติและเครือข่ายอาสาสมัครในไทย รวมถึงการจัดทำ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ผ่านเส้นทางยาวนานมาถึงวันนี้ ประเทศไทยยังคงตกอยู่ในวังวนและเผชิญความสูญเสียจากภัยพิบัติหลากรูปแบบที่รุนแรง ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ
นโยบาย “บ้านเพื่อคนไทย” แก้ปัญหาไม่ตรงจุด
ผู้เชี่ยวชาญด้านอสังหาฯวิพากษ์นโยบาย "บ้านเพื่อคนไทย" รัฐบาลไม่เข้าใจปัญหาที่อยู่อาศัยยุคใหม่ ค้านนำที่รัฐย่านใจกลางเมืองมาพัฒนา และเปิดให้เช่าที่ดิน 99 ปี ระบุไม่มีที่ไหนทำกัน แนะควรเข้าไปดูกฏกติกาต่างชาติเข้ามาซื้ออสังหาฯ
เหลื่อมล้ำทางภัยพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องรอ “อนาฅต”
ความหลื่อมล้ำในสังคมไทยเกิดขึ้นในหลายมิติ แม้กระทั่งการเผชิญหน้าหรือการจัดการภัยพิบัติ ที่หลายครั้งเกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่เท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่เศรษฐกิจที่ถูกปกป้องคุ้มครองมากกว่าพื้นที่การเกษตร รวมไปถึงในแง่งบประมาณ และองค์ความรู้ในการจัดการภัยพิบัติที่ยังมีความแตกต่าง
ร่วมออกแบบ สสร. วางรากฐานรัฐธรรมนูญของประชาชน
เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญใหม่ แม้ยังอีกไกลและอาจไม่เสร็จสิ้นในสมัยรัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร แต่สิ่งหนึ่งที่ทำได้เลยคือ การออกแบบ สสร. ซึ่งเป็นบันไดขั้นแรกที่จะนำไปสู่การออกแบบแกนกลางของรัฐธรรมนูญและโครงสร้างการเมืองที่เป็นของทุกคน
โลกรวน เพิ่มความรุนแรงภัยพิบัติ : 4 เรื่องเร่งด่วนเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายครั้งใหญ่จากภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงและความถี่มากขึ้น โดยเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งหลายภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทั่วประเทศได้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมหาศาล ทั้งยังเป็นคำเตือนให้ประเทศไทยเตรียมรับมือกับภัยธรรมชาติที่ไม่อาจปฏิเสธได้ในอนาคต
ย้ำสัญญา ลดคาร์บอนไทย กับทิศทางต่อไปในปี 2025
ประเทศไทยประกาศเป้าหมายชัดเจนในการประชุมระดับสูงของ COP ครั้งที่ 29 ณ เมืองบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน โดยมุ่งตามเป้า NDC สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 ท่ามกลางการจับตาว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายได้มากน้อยแค่ไหน และแตกต่างจากประเทศอื่น ๆ อย่างไรบ้าง
สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด
ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด
ดอกเบี้ยโลกปีงูเล็ก “ขาลง” ดอกเบี้ยไทยรอลุ้นกนง.
ปีงูเล็กมาเยือน พร้อมกับเศรษฐกิจไม่สดใสมากนัก ทำให้นักวิเคราะห์คาดว่าธนาคารกลางประเทศยักษ์ใหญ่ของโลกจะปรับลดดอกเบี้ย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำหรับไทยยังไม่ชัดเจน แม้ว่าจะคาดการณ์ว่ามาตรการกระตุ้นต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ออกมา อาจจะไม่ช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวได้มากนัก
นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน
ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย