นโยบาย 8 หมวด
บทความ ล่าสุด
ดูทั้งหมด20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด
เหตุการณ์สึนามิ ปี 2547 เป็นจุดเริ่มต้นของระบบจัดการภัยพิบัติและเครือข่ายอาสาสมัครในไทย รวมถึงการจัดทำ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ผ่านเส้นทางยาวนานมาถึงวันนี้ ประเทศไทยยังคงตกอยู่ในวังวนและเผชิญความสูญเสียจากภัยพิบัติหลากรูปแบบที่รุนแรง ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ
Social Participation กลไกนำทุกคนเข้าถึงระบบสุขภาพที่ดี
ย้อนไปเมื่อช่วงเดือน มิ.ย. 67 ไทยมีการนำเสนอมติสำคัญ ที่เรียกว่า “Social Participation” หรือ “การมีส่วนร่วมของสังคม” ต่อที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 77 ณ สมาพันธรัฐสวิส และได้รับการรับรองมติจากผู้แทน 194 ประเทศสมาชิกทั่วโลก วันนี้มติดังกล่าว ถูกนำมาพูดถึงอีกครั้งพร้อมเสียงสะท้อนจากนานาชาติ
30 บาทรักษาทุกที่ มีสิทธิประโยชน์อะไรใหม่?
เช็กสิทธิประโยชน์ "30 บาทรักษาทุกที่" ขณะที่บอร์ดสปสช.เห็นชอบ “งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2569” วงเงินกว่า 2.72 แสนล้านบาท งบเหมาจ่ายรายหัว 4,298.24 บาท ดูแลคนไทยผู้มีสิทธิ 47.50 ล้านคน พร้อมเพิ่มสิทธิประโยขน์ใหม่ 10 รายการ
นโยบาย 8 หมวด
รัฐ
ประชาสังคม
นโยบายที่ได้รับความสนใจสูงสุด
นโยบายที่มีความเคลื่อนไหวล่าสุด
Policy Forum ล่าสุด
Policy Forum ครั้งที่ 26 : 20 ปีสึนามิ บทเรียนและจินตนาการใหม่ การจัดการภัยพิบัติ
“สึนามิ” ปี 2547 พัดพาความสูญเสียครั้งใหญ่ เฉพาะในไทยมีผู้เสียชีวิตและสูญหายมากถึง 8,345 คน เป็นจุดเริ่มต้นให้มีกฎหมาย และนโยบายจัดการและรับมือภัยพิบัติ แต่ในรอบ 20 ปี ยังมีภัยพิบัติเกิดขึ้นในประเทศไทยอีกกว่า 95 ครั้ง ส่งผลให้มีคนตาย 11,000 คน รวมมูลค่าความเสียหายกว่า 2.2 ล้านล้านบาท และต้องเตรียมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงของภัยธรรมชาติใน "ยุคโลกเดือด" ที่ซับซ้อนและแปรปรวนมากขึ้นเรื่อย ๆ
อ่านเพิ่มเติมPolicy Forum
ดูทั้งหมดData Visualization
Data Visualization
ดูทั้งหมดชาติพันธุ์ คือใคร ทำไมต้องคุ้มครอง
ชวนทำความรู้จัก "กลุ่มชาติพันธุ์" ผ่านประวัติศาสตร์ของ "นโยบายรัฐ" ที่มีต่อกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย เพื่อทำความเข้าใจเหตุผล ว่าทำไมการคุ้มครองสิทธิและส่งเสริมวิถีชีวิตชาติพันธุ์ จึงเป็นเรื่องสำคัญ
อ่านต่อShort Clip
ดูทั้งหมดรายการสด
Policy Forum ครั้งที่ 26 : 20 ปี สึนามิ บทเรียนและจินตนาการใหม่ การจัดการภัยพิบัติ
เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยน เพื่อทบทวนประสบการณ์ เติมความรู้ พร้อมไปกับการชักชวนกันสร้างการเรียนรู้เชิงนโยบาย เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของภัยธรรมชาติในยุคโลกเดือดอย่างมีส่วนร่วม ในทุกรูปแบบ ทุกพื้นที่ และทุกมิติ