ThaiPBS Logo

รัฐบาลดิจิทัล

นโยบายผลักดัน "รัฐบาลดิจิทัล" เริ่มขึ้นหลังจากคณะรัฐมนตรีผ่านความเห็นชอบต่อแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559 – 2561) เมื่อวันที่ 5 เม.ย. 2559 เพื่อใช้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนด้วยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

อ่านเพิ่มเติม

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ดำเนินงาน
  • ตรวจสอบ
  • ประเมินผล

เริ่มนโยบาย

ขั้นตอนเริ่มต้นนโยบาย ประกาศนโยบายต่อสาธารณะ

วางแผน

ขั้นตอนวางแผน เสนอแผนงานต่างๆ

ดำเนินงาน

หน่วยงานรัฐดำเนินการตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570

ตรวจสอบ

ขั้นตอนการตรวจสอบการทำงาน

ประเมินผล

ขั้นตอนการประเมินผลการดำเนินการตามนโยบาย

อ่านเพิ่มเติม

รัฐบาลที่ผ่านมา เร่งพัฒนารัฐบาลดิจิทัล โดยล่าสุด ได้จัดทำแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570 ขึ้น ซึ่งแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลฉบับนี้ จะเป็นการทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2559 – 2561)

รวมถึง (ร่าง) แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2560 – 2564 และแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2563 – 2565 รวมถึงพิจารณาความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และแผนระดับชาติอื่น ๆ รวมทั้ง เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ

 

ภาพรวม

ลำดับเหตุการณ์

  • ครม. อนุมัติแผนรัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย พ.ศ. 2566 – 2570  ดูเพิ่มเติม ›

    28 ก.พ. 2566

  • ราชกิจจานุเบกษาประกาศให้พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 มีผลตั้งแต่ 23 พ.ค. 2562 เป็นต้นไป  ดูเพิ่มเติม ›

    22 พ.ค. 2562

  • ครม. เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ….  ดูเพิ่มเติม ›

    2 ต.ค. 2561

  • ครม. เห็นชอบแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 3 ปี พ.ศ. 2559-2561  ดูเพิ่มเติม ›

    5 เม.ย. 2559

ความสำเร็จของนโยบาย

เชิงโครงการ

ภายในปี 2570 ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการใช้บริการออนไลน์ภาครัฐไม่น้อยกว่า 85%
ภายในปี 2570 อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(EGDI) ของไทย ไม่ต่ำกว่าอันดับที่ 40 ของโลก

เชิงกระบวนการ

ระดับความพึงพอใจของประชาชนตอการใชบริการออนไลน์ภาครัฐ
อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (EGDI) ของไทย

เชิงการเมือง

ภาครัฐที่ปรับตัวทันการณ์
ให้บริการที่ตอบสนองประชาชน และลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการ
เพิ่มความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของภาคธุรกิจ
โปร่งใส เปิดเผยข้อมูล ประชาชนเชื่อถือและมีส่วนร่วม

บทความ/บทวิเคราะห์