ThaiPBS Logo

แท็ก: thaiPBS

นโยบายภาคการเมือง

บทความ

รัฐเน้นส่งเสริม “โซลาร์” แต่ขาดกลไกสนับสนุน

รัฐเน้นส่งเสริม “โซลาร์” แต่ขาดกลไกสนับสนุน

ในยุคที่ “ราคาค่าไฟ” ผันผวน “พลังงานสะอาด” กลายเป็นทางเลือกที่คนไทยเริ่มให้ความสนใจ เพราะเชื่อว่าจะช่วยให้ประหยัดและเป็นตัวเปลี่ยนเกมที่จะทำให้ระบบไฟฟ้ายั่งยืน รวมถึงหน่วยงานราชการ ที่หันมาใช้พลังงานสีเขียวทดแทน รับลูกรัฐบาลที่มีมติในปี 2022 ให้หน่วยราชการลดใช้พลังงาน 20% เพื่อรับมือวิกฤติค่าไฟแพง

3 โจทย์ใหญ่จัดการภัยพิบัติเชียงราย

3 โจทย์ใหญ่จัดการภัยพิบัติเชียงราย

สถานการณ์น้ำท่วม และสึนามิโคลนที่เกิดขึ้นในเชียงราย สะท้อนถึงระบบการรับมือที่ยังไม่ดีพอ และการตกอยู่ในวังวนของภัยพิบัติใหญ่มานานนับสิบปี ทำให้การพัฒนาเติบโตของ “เชียงราย” ถูกบั่นทอน “รศ.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์” เสนอ 3 แนวทาง ทำให้เมืองปลอดภัย และเดินหน้าพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวได้มากขึ้น

เสนอปรับเพดานนโยบาย หนุนชุมชนเข้มแข็งจัดการภัยพิบัติ

เสนอปรับเพดานนโยบาย หนุนชุมชนเข้มแข็งจัดการภัยพิบัติ

ภาคใต้กำลังเข้าสู่ฤดูฝนในเดือน พ.ย.นี้ สามเดือนนับจากนี้เป็นช่วงที่ต้องเฝ้าระวัง น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม การเตรียมความพร้อมรับมือจึงต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้ ชุมชนจะต้องตอบ 3 คำถามให้ได้ หนีเมื่อไร? หนีอย่างไร? หนีไปไหน? และภาคีเครือข่ายต้องช่วยสร้างกลไกสนับสนุนให้พวกเขาเข้มแข็ง

วิเคราะห์หลังเลือกตั้งสหรัฐ คาดอาเซียนได้ประโยชน์

วิเคราะห์หลังเลือกตั้งสหรัฐ คาดอาเซียนได้ประโยชน์

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่จะมีขึ้น 5 พ.ย. 67 เป็นตัวแปรที่กำหนดทิศทางนโยบายของสหรัฐฯ ในอีก 4 ปีข้างหน้า ซึ่งจะส่งผลต่อไปยังแนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ รวมถึงเศรษฐกิจโลก

‘ข้อมูล’ กุญแจสำคัญสู่นโยบายที่ดี

‘ข้อมูล’ กุญแจสำคัญสู่นโยบายที่ดี

"ข้อมูล" เป็นจุดเริ่มต้นสู่การสร้างนโยบายสาธารณะที่ตอบโจทย์ตรงจุด แต่ในทางปฏิบัติยังมีอุปสรรคและข้อจำกัดที่ต้องแก้ไข ตั้งแต่การจัดเก็บข้อมูลไปจนถึงระดับปฏิบัติ วงเสวนาชวนระดมความคิด ร่วมกันหากลไกให้ทุกภาคส่วนแบ่งปันข้อมูลเพื่อการวิจัยและพัฒนา พร้อมยกระดับการรักษาความปลอดภัย

ประชามติแบบสองชั้น: เมื่อปิศาจอยู่ในรายละเอียด

ประชามติแบบสองชั้น: เมื่อปิศาจอยู่ในรายละเอียด

การทำประชามติเป็นเครื่องมือในการการตัดสินใจทางการเมืองที่นับว่าใหม่มากสำหรับประเทศไทย โดยเพิ่งมีการนำมาใช้จริงครั้งแรกในการเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550

เปิดกลไกให้นโยบายดี ๆ ได้ไปต่อ แม้การเมืองเปลี่ยน

เปิดกลไกให้นโยบายดี ๆ ได้ไปต่อ แม้การเมืองเปลี่ยน

ช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล หลายนโยบายที่มีความหวังกลับ ถูกแปรรูป เปลี่ยนร่าง หรือหายไป สะท้อนถึงปัญหาบริบทสังคมไทย “การเมืองผูกกับนโยบาย” นำมาสู่ข้อเรียกร้องให้เกิด “นโยบายนำการเมือง” ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย โดยรัฐต้องมีพันธะรับผิดชอบ ร่วมมือพัฒนาระบบติดตามนโยบายให้มีประสิทธิภาพ

แจกเงินหมื่นดิจิทัลวอลเล็ต 4 วัน เริ่ม 25 ก.ย.

แจกเงินหมื่นดิจิทัลวอลเล็ต 4 วัน เริ่ม 25 ก.ย.

แจกเงินหมื่นบาท กลุ่มเปราะบาง ในเฟสแรกประมาณ 14.5 ล้านคน ได้ฤกษ์แจกแล้ว ใน 4 วัน ขณะที่เฟสสองให้รอไปก่อน ในขณะนี้อยู่ระหว่างการพัฒนาระบบ

ทำไมรัฐบาลเพื่อไทย ไม่มีนโยบายแก้คอร์รัปชัน

ทำไมรัฐบาลเพื่อไทย ไม่มีนโยบายแก้คอร์รัปชัน

คำแถลงนโยบายรัฐบาลของนาวสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีความคล้ายกับของนายเศรษฐา ทวีสิน ในหลาย ๆ นโยบาย และที่คล้ายกันอย่างน่าประหลาดใจคือ ทั้งสองรัฐบาลไม่มีการระบุเกี่ยวกับนโยบายการปราบปรามการทุจริต ราวกับว่าสังคมไทยไม่มีปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันและไม่ใช่เรื่องของรัฐบาล

7 ข้อจำกัดที่นักสันติวิธี พยายามเดินข้าม

7 ข้อจำกัดที่นักสันติวิธี พยายามเดินข้าม

ทำไมแก้ปัญหาแบบไม่ใช้ความรุนแรง และ ปัญหาความเหลื่อมล้ำแก้ยากในสังคมไทย "มารค ตามไท" สรุปบทเรียนหลังจากทำงานด้านสันติวิธีมายาวนาน เพื่อส่งต่อให้คนรุ่นหลังตระหนักถึงความยากลำบากที่ต้องพูดคุยกับ "อำนาจ"

ชูเอกลักษณ์ความเป็นไทย ทางรอดอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ชูเอกลักษณ์ความเป็นไทย ทางรอดอุตสาหกรรมสิ่งทอ

อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มไทยเข้าสู่ขาลงเร็วมาก แนะภาครัฐและเอกชนเร่งปรับตัวหาตลาดที่เหมาะสม ลดต้นทุนการผลิต มีเอกลักษณ์ความเป็นไทย เพื่อกีดกันการแข่งขันด้านราคาจากผู้ประกอบการต่างชาติ

14 ปี จากมติ ครม. สู่กฎหมายชาติพันธุ์

14 ปี จากมติ ครม. สู่กฎหมายชาติพันธุ์

ใกล้ความจริงมากขึ้น เมื่อ กมธ.วิสามัญ “ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. …” พิจารณากฎหมายครบทั้ง 35 มาตรา เร่งเดินหน้าหาฉันทามติ 3 ประเด็นละเอียดอ่อนให้จบภายใน ส.ค.นี้ เป็นของขวัญรับ “วันชนเผ่าพื้นเมืองโลก” ก่อนส่งสภาฯ เข้าสู่การพิจารณาในวาระ 2

สศช.ลดเป้าจีดีพีปี’67 เหตุหนี้สูง เศรษฐกิจโลกผันผวน

สศช.ลดเป้าจีดีพีปี’67 เหตุหนี้สูง เศรษฐกิจโลกผันผวน

สศช.รายงานเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ปี 67 ขยายตัว 2.3% แต่คาดทั้งปีเติบโตลดลงเหลือ 2.8% มีแรงกดดันจากหนี้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูง สถาบันการเงินเข้มงวดสินเชื่อ ขณะที่ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกชะลอ

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ

ปัญหาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยพูดกันมานาน แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนแก้ไขได้ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว รัฐบาลในแต่ละยุคก็มักจะใช้มาตรการกระตุ้นระยะสั้น แต่จากสถานการณ์หลังโควิด-19 หลายประเทศพื้นตัวเร็ว แต่ไทยยังย่ำแย่ สะท้อนให้เห็นปัญหารุนแรงขึ้นจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงและสังคมสูงอายุ ฉุดบริโภคในประเทศ

“อย่าทำให้ผิดหวัง” เมื่อประชาชนส่งเสียงถึงสว.

“อย่าทำให้ผิดหวัง” เมื่อประชาชนส่งเสียงถึงสว.

“ไม่ได้เลือก แต่ขอร่วม” ภาคประชาชน นักวิชาการ และคนรุ่นใหม่ จับตากระบวนการเลือก สว.ชุดใหม่ ฝากข้อเสนอและความคาดหวังในการสร้างจุดเปลี่ยนทางการเมือง ปูทางสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

กัญชาเพื่อการแพทย์และสุขภาพ : ทางออก ทางเลือก หรือ ทางตัน?

กัญชาเพื่อการแพทย์และสุขภาพ : ทางออก ทางเลือก หรือ ทางตัน?

ส่องเงื่อนไข-สิทธิ “บำเหน็จบำนาญชราภาพ” ประกันสังคมล่าสุด

ส่องเงื่อนไข-สิทธิ “บำเหน็จบำนาญชราภาพ” ประกันสังคมล่าสุด

นับตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2541 สำนักงานประกันสังคมได้เรียกเก็บเงินสมทบ "ชราภาพ" เพื่อเป็นเงินสะสมสำหรับสมาชิกประกันสังคมเมื่อถึงวันเกษียณอายุ ซึ่งปัจจุบัน กองทุนมีการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญชราภาพให้กับสมาชิกแล้ว แต่มีการปรับปรุงเงื่อนไขบางอย่าง ดังนั้น สมาชิกต้องมั่นตรวจสอบเพือประโยชน์ของตัวเอง

ใครได้-ใครเสีย หลังจัดสรรก๊าซธรรมชาติในรูปแบบใหม่

ใครได้-ใครเสีย หลังจัดสรรก๊าซธรรมชาติในรูปแบบใหม่

การจัดสรรก๊าซธรรมชาติในรูปแบบใหม่ จะทำให้ค่าไฟฟ้าและราคาก๊าซธรรมชาติถูกลง ส่งผลให้ประชาชนมีรายจ่ายลดลงและภาคธุรกิจมีกำไรเพิ่มขึ้น ในขณะที่ธุรกิจโรงแยกก๊าซธรรมชาติได้รับผลกระทบ

เปิดบันทึก 4 ข้อตกลง แก้ข้อพิพาทที่ดิน”ส.ป.ก.-อุทยานฯ”

เปิดบันทึก 4 ข้อตกลง แก้ข้อพิพาทที่ดิน”ส.ป.ก.-อุทยานฯ”

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มี.ค.2567 เพื่อแก้ปัญหาข้อพิพาทเขตที่ดินระหว่างอุทยานแห่งชาติและสำนักงานส.ป.ก. โดยเฉพาะข้อพิพาทพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จะทำให้เสร็จภายใน 2 เดือน

สุขภาพจิตคนไทย แย่แค่ไหนจากข้อมูล

สุขภาพจิตคนไทย แย่แค่ไหนจากข้อมูล

สุขภาพจิตคนไทย ยังคงเป้นปัญหาที่ใหญ่และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน Policy Watch นำบทวิเคราะห์ โดย สรัช สินธุประมา หัวหน้าทีมสื่อสารสาธารณะและนักวิจัย 101 PUB ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ ปัญหา และความท้ายทายในการแก้ปัญหาสุขภาพจิตคนไทย