บทความ
เปิดโครงสร้าง 'บ้านหลังใหม่' จัดการอากาศสะอาด
การพิจารณา ร่างกฎหมายอากาศสะอาด กำลังเข้าสู่ช่วงสำคัญในชั้นกรรมาธิการวิสามัญฯ กับการหลอมรวมเนื้อหาจาก 7 ร่าง เพื่อทำให้เนื้อหาที่ออกมาสมบูรณ์ที่สุดและสามารถออกแบบกลไกการทำงานเพื่อติดตามการป้องกันมลพิษทางอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กสม.เสนอกระจายอำนาจ คุมไฟป่าแก้ฝุ่นควันภาคเหนือ
คณะกรรมการสิทธิฯ เสนอรัฐบาลแก้ปัญหาไฟฟ่าและฝุ่นควันใน 8 จังหวัดภาคเหนือ ต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล รวมถึงการจัดงบประมาณ พร้อมทบทวนนโยบายห้ามเผาเด็ดขาด ขณะเดียวกันต้องสร้างตัวชี้วัดให้ทุกหน่วยงานเห็นร่วมกันเพื่อนำไปปฏิบัติ
โอกาสสร้างอากาศสะอาด หยุดเผา "ตอซังข้าวโพด"
ระหว่างชีวิตเรา กับฝุ่น PM 2.5 อะไรจะหายไปจากโลกนี้ก่อนกันแน่ ? คำถามใหญ่ท่ามกลางวิกฤตฝุ่นพิษที่ไทยกำลังเผชิญซ้ำ ๆ ทุกปี และต่างรู้ดีว่าสาเหตุมาจากไหน แต่การแก้ปัญหายังเหมือนพายเรือวนในอ่าง "กฎหมายอากาศสะอาด" เป็นหนึ่งความหวังสำคัญที่จะทำให้ปัญหานี้หมดไปได้ ผ่านกลไกระบบตรวจสอบย้อนกลับ
ไทยนำเข้าข้าวโพดเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้น แม้เป็นตัวการเกิดฝุ่น PM 2.5
คนไทยเสี่ยงอายุสั้นจาก PM2.5 พ.ร.บ.อากาศสะอาดคือความหวัง
อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยกำลังลดลง จากฝุ่นพิษ PM 2.5 เกินระดับมาตรฐาน เช่นเดียวกับหลายประเทศที่เผชิญปัญหานี้ แต่พ.ร.บ.อากาศสะอาด อาจเป็นความหวังในการแก้ปัญหาสภาพอากาศ หากดูตัวอย่างจากสหรัฐฯและสหราชอาณาจักร ที่มีการผลักดันกฎหมายสะอาดขึ้น จนปริมาณควันพิษลดลงถึง 65%
5 บทเรียน ข้อเรียนรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5
ปัญหาฝุ่น PM2.5 นับว่ามีความซับซ้อนอย่างยิ่ง เรื่องไม่ง่ายเหมือนการโต้ตอบทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมาระหว่างฝ่ายค้านกับรัฐบาล ไพสิฐ พาณิชย์กุล ผู้อำนวยการศวอ. มองว่าการวิ่งไล่ดับไฟในช่วง "ฤดูฝุ่น" ไม่ใช่วิธีที่ได้ผล แต่เรามี“ช่วงป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ต้นทาง“ ในช่วง 8-9 เดือน ที่ต้องรีบดำเนินการ
ให้อำนาจท้องถิ่นในเชียงใหม่ ช่วยป้องกัน-คุมไฟป่า
คณะกรรมการกระจายให้ท้องถิ่นฯ ออกประกาศให้องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนและช่วยเหลือกรมอุทยานฯ ป้องกันและควบคุมไฟป่า นำร่องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และให้ช่วยแก้ปัญหาสัตว์ป่าที่ก่อให้เกิดผลกระทบ
เทียบร่างกฎหมายอากาศสะอาด 7 ฉบับ
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือกำลังวิกฤตในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ที่ติดอันดับ 2 ของเมืองที่มีมลพิษมากที่สุดในโลก จนหลายฝ่ายต้องระดมสรรพกำลังออกมาเร่งแก้ปัญหา ในวันที่ พ.ร.บ.อากาศสะอาด ซึ่งเชื่อว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างประสิทธิภาพ กำลังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กมธ.
รู้จัก 'เชียงใหม่โมเดล' แก้ปัญหาฝุ่นแบบครบวงจร
ท่ามกลางสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ที่พุ่งสูงในหลายพื้นที่ นายกฯ เศรษฐา ทวีสิน ประกาศเร่งเดินหน้าแก้ไขทั้งเรื่อง 'จุดความร้อน' และ ประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ ที่สำคัญคือให้ยึด 'เชียงใหม่โมเดล' เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
หลักการที่ “ต้องมี” ใน พ.ร.บ.อากาศสะอาด
วิเคราะห์มุมนักเศรษฐศาสตร์ ถึงสาระและหลักการสำคัญที่จำเป็นต้องมีใน ร่าง พ.ร.บ.บริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด พ.ศ. .... ที่ประชาชนจะได้ใช้ ภายหลัง 7 ร่าง ผ่านรัฐสภาเข้าสู่การพิจารณาอย่างเข้มข้นของคณะกรรมาธิการ เพื่อเป้าหมายลดการก่อมลพิษ แก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เด็กวิ่งหนีควันเผาอ้อย ตอกย้ำทำไมต้องมี พ.ร.บ.อากาศสะอาด
จากคลิปในโซเชียลมีเดียที่ปรากฏภาพเด็กนักเรียนนับร้อยชีวิตกำลังแตกตื่นวิ่งหนีหนีฝุ่นควันจากการเผาไร่อ้อยที่ลอยเข้าไปในโรงเรียน ในพื้นที่ ต.โคกตูม อ.เมือง จ.ลพบุรี เมื่อวันที่ 21 ก.พ. ที่ผ่านมา นำมาสู่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงมาตรการควบคุมการเผาที่ไม่ได้ผล และยิ่งตอกย้ำว่าทำไมต้องมี พ.ร.บ.อากาศสะอาด
กทม.จมฝุ่น PM2.5 อากาศเลวร้ายทุกปี
กรุงเทพมหานคร ยังคงเผชิญมลพิษทางอากาศมาเป็นเวลานาน แม้การแก้ปัญหาฝุ่นละอองจะเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล ผลสำรวจในปี 2566 กรุงเทพฯ มีวันสภาพอากาศดีลดลงต่อเนื่องจนทุบสถิติใหม่ และยังส่งผลกระทบสุขภาพมากขึ้นทุกปี
ความท้าทายแก้ฝุ่นควัน เมื่อรัฐออกมาตรการแต่ไร้แผน
ปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 กลับมาสร้างปัญหาเป็นระยะ แม้รัฐบาลก่อนกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ปี 2562 แต่ดูเหมือนจะดีขึ้นในระยะแรก แต่เมื่อสิ้นแผนฝุ่นควันก็กลับมาหนักขึ้น ในขณะที่รัฐบาลปัจจุบันไม่มีแผนที่ชัด มีเพียงแต่มาตรการจากครม.เป็นข้อสั่งการ
พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน
เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”
ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน
มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”
ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม
ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน
ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5
ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม