ThaiPBS Logo

แท็ก: ธปท.

นโยบายภาคการเมือง

บทความ

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

กนง.ลดดอกเบี้ยนโยบาย คนกู้เงินได้ประโยชน์อะไร?

ภายหลัง กนง.มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในรอบกว่า 4 ปี จาก 2.50% สู่ระดับ 2.25% ต่อปี ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ในไทยต้องทยอยประกาศปรับลดดอกเบี้ยลงตาม แล้วประชาชนคนไทยได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการลดดอกเบี้ยครั้งนี้

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

กนง.ลดดอกเบี้ย 0.25% ครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี

มติ กนง.ลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี เหลือ 2.25% ต่อปี มองสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ และช่วยบรรเทาภาระหนี้ครัวเรือน พร้อมจับตาหนี้เสียอย่างใกล้ชิด ปฏิเสธเจอแรงกดดันจากการเมืองให้ลดดอกเบี้ย ขณะที่สำนักวิจัยระบุลดดอกเบี้ยสวนทางตลาด

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย  16 ต.ค. นี้

ทำไมคาดการณ์ว่ากนง.ยังคงดอกเบี้ย 16 ต.ค. นี้

การลดดอกเบี้ยโดยไม่จำเป็นส่งผลดีกับรัฐบาลและภาคธุรกิจ แต่ไม่ช่วยเพิ่มสภาพคล่องรายย่อยที่ขาดความสามารถในการแข่งขัน ทีดีอาร์ไอหนุน ธปท.ปรับโครงสร้างหนี้ แนะรัฐบาลทุ่มงบเพิ่มทักษะผู้ประกอบการระดับล่าง

เตือนหายนะ! หากธปท.ฟังรัฐบาล จนขาดมาตรฐานวิชาชีพ

เตือนหายนะ! หากธปท.ฟังรัฐบาล จนขาดมาตรฐานวิชาชีพ

กระแสการเมืองส่งคนนั่งบอร์ดแบงก์ชาติ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต "สมชัย จิตสุชน" อดีตกนง.มองว่าหากการเมืองส่งคนเข้ามา มีความเสี่ยงมากขึ้นจากความเชื่อมั่น แม้อาจไม่ถึงขั้นหายนะ ขึ้นกับการทำงานมากกว่า หากยึดหลักตามมาตรฐานวิชาชีพและมองระยะยาว

ธปท.เปิดตัว Your Data เชื่อมข้อมูลทุกสถาบันการเงิน เริ่มปี 69

ธปท.เปิดตัว Your Data เชื่อมข้อมูลทุกสถาบันการเงิน เริ่มปี 69

การขอข้อมูลการเงินของตัวเองข้ามสถาบันการเงิน ไม่ใช่เรื่องยากและเสียค่าใช้จ่ายอีกต่อไป เมื่อธปท.เปิดตัว Your Data ให้เจ้าของบัญชีสามารถส่งข้อมูลทางการเงินในรูปแบบดิจิทัลในสถาบันการเงิน ให้กับสถาบันการเงินอื่น ๆ ได้ เพื่อใช้ขอสินเชื่อ และบริหารทางการเงิน คาดว่าจะเริ่มใช้งานได้ในปี 2569

นโยบายหวังผลระยะสั้น ทำสังคมไทยติดกับดักหนี้

นโยบายหวังผลระยะสั้น ทำสังคมไทยติดกับดักหนี้

ผู้ว่าธปท.มองปัญหาหนี้ของประเทศรุนแรงขึ้น เป็นปัญหาใหญ่ของประเทศ การแก้ปัญหาต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย และต้องขจัดอคติเพื่อหาทางแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน วิจารณ์นโยบายรัฐบาลที่ผ่าน ๆ มา มุ่งเน้นเห็นผลระยะสั้น ไม่คำนึงผลระยะยาว เป็นตัวซ้ำเติมวิกฤติหนี้ยืดเยื้อและแก้ไขยากขึ้นในอนาคต

เศรษฐกิจไทยยังไหว กนง.ไม่รีบลดดอกเบี้ย แต่ห่วงหนี้เสียปูด

เศรษฐกิจไทยยังไหว กนง.ไม่รีบลดดอกเบี้ย แต่ห่วงหนี้เสียปูด

รายงานประชุม กนง. ส่งสัญญาณไม่รีบปรับลดอัตราดอกเบี้ย ประเมินเศรษฐกิจไทยขยายตัวเข้าสู่ระดับศักยภาพ และเงินเฟ้อขยับเข้ากรอบล่างเป้าหมายปลายปี 67 แต่กังวลหนี้เสียเริ่มขยายวงไปยังกลุ่มรายได้สูง พร้อมเฝ้าระวังกระทบเศรษฐกิจ

ลูกหนี้ผิดนัดพุ่ง แบงก์ขยับตั้งสำรอง 5.1 หมื่นล้านบาท

ลูกหนี้ผิดนัดพุ่ง แบงก์ขยับตั้งสำรอง 5.1 หมื่นล้านบาท

ธปท.เผยสถานการณ์หนี้ไทยยังแย่ต่อเนื่อง ตัวเลขหนี้เสีย หรือ NPL ในไตรมาส 2 ปี 67 ปรับเพิ่มขึ้นทั้งระบบ โดยเฉพาะหนี้เสียกลุ่มบัตรเครดิตและบ้านที่ขยับขึ้นมากสุด พร้อมจับตามการชำระหนี้ธุรกิจ SMEs และหนี้ครัวเรือน คาดอาจหนุนให้หนี้เสียทยอยเพิ่มขึ้นอีก

กนง.ผวาหนี้เสีย ฉุดเศรษฐกิจไทย มึนลงทุนเอกชนทรุด

กนง.ผวาหนี้เสีย ฉุดเศรษฐกิจไทย มึนลงทุนเอกชนทรุด

คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 6 ต่อ 1 เสียง คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.50% ต่อเนื่อง มองเศรษฐกิจไทยยังขยายตัว แต่จับตาใกล้ชิดสถานการณ์หนี้เสียที่แย่ลง หวั่นกระทบเศรษฐกิจประเทศ

เศรษฐกิจไทยชะลอ ลุ้นกนง.ลดดอกเบี้ยปลายปี 67

เศรษฐกิจไทยชะลอ ลุ้นกนง.ลดดอกเบี้ยปลายปี 67

เศรษฐกิจไทยเติบโตลดลงมาตั้งแต่ต้นปี 67 และมีแนวโน้มจะแย่ลงเรื่อย ๆ จากปัญหาเชิงโครงสร้างที่สะสมมานาน แม้นโยบายการเงินจะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ไม่มาก แต่ก็มีการคาดว่า กนง.อาจยอมลดดอกเบี้ย 1 ครั้งในปลายปี 67 เพื่อลดแรงกดดันเศรษฐกิจในประเทศ

ส่องประเทศพัฒนาแล้ว ทำไมหนี้ครัวเรือนไทยจึงน่ากลัว

ส่องประเทศพัฒนาแล้ว ทำไมหนี้ครัวเรือนไทยจึงน่ากลัว

หนี้ครัวเรือนกำลังเป็นปัญหาใหญ่ของไทย เพราะสูงเกิน 90% ต่อจีดีพีมานานหลายปี และส่วนใหญ่เป็นหนี้ส่วนบุคคลที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ซึ่งบั่นทอนการเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาว ในขณะที่หากไปดูบางประเทศที่พัฒนาและกำลังพัฒนา แม้มีหนี้ครัวเรือนระดับสูง แต่เป็นหนี้ที่ลงทุนเพื่ออนาคต

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.เพิ่มน้ำหนักคงดอกเบึ้ย มีมติ 6 ต่อ 1

กนง.คงดอกเบี้ยในระดับสูงต่อเรื่อง 2.5% ต่อปี แต่รอบนี้คณะกรรมการฯเห็นต่างแค่ 1 เสียง ซึ่งส่วนใหญ่มองเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวได้ดี ส่วนเงินเฟ้อที่สูงขึ้นมาจากปัจจัยชั่วคราวคาดสิ้นปี 67 ยังอยู่ในกรอบเป้าหมาย

คาดกนง.ตรึงดอกเบี้ย 2.50% ถึงสิ้นปี 67

คาดกนง.ตรึงดอกเบี้ย 2.50% ถึงสิ้นปี 67

แม้ว่ากนง.จะเผชิญกับแรงกดดันจากรัฐบาลให้ลดดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำนักวิจัยกรุงศรีคาดการณ์ กนง.จะไม่ลดดอกเบี้ยในช่วงที่เหลือของปี 67 หลังเศรษฐกิจไทยแนวโน้มเติบโตกว่าที่คาดการณ์ไว้ และเงินเฟ้อเริ่มกลับมาเป็นบวกขยับเข้ากรอบเป้าหมาย

ธปท.มองเศรษฐกิจไทยฟื้นไม่ทั่ว กระจุกตัวแค่เมืองท่องเที่ยว

ธปท.มองเศรษฐกิจไทยฟื้นไม่ทั่ว กระจุกตัวแค่เมืองท่องเที่ยว

แบงก์ชาติ เตรียมปรับประมาณการจีดีพี คาดเศรษฐกิจไทยเติบโตต่อเนื่องจากเครื่องยนต์ท่องเที่ยวเป็นหลัก แต่อาจฟื้นตัวแบบไม่ทั่วถึง พร้อมจับตาเงินเฟ้อใกล้ชิดหลังพลิกบวกครั้งแรกในรอบ 6 เดือน เชื่อใกล้ขยับเข้ากรอบล่างของเป้าหมาย 1-3%

ธุรกิจไทยต้องเร่งปรับตัว เดินหน้าสู่เป้าหมาย Net Zero

ธุรกิจไทยต้องเร่งปรับตัว เดินหน้าสู่เป้าหมาย Net Zero

ธปท.ชี้ไทยต้องเริ่มปรับตัวภาคธุรกิจให้ลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ ป้องกันตกขบวนการค้าโลก พร้อมให้สถาบันการเงินพัฒนาผลิตภัณฑ์สินเชื่อสีเขียวให้ครอบคลุมธุรกิจ SMEs ที่ถือเป็นกระดูกสันหลังของเศรษฐกิจ

หนี้ครัวเรือนลด “ทางเทคนิค” ต่ำกว่า 91% จากจีดีพีโต

หนี้ครัวเรือนลด “ทางเทคนิค” ต่ำกว่า 91% จากจีดีพีโต

หนี้ครัวเรือนในไตรมาสแรกปีนี้จะปรับลดลงเล็กน้อยจากระดับ 91% เพราะจีดีพีขยายตัว แต่ปัญหายังคงอยู่ เพราะหากระดับที่ทำให้เศรษฐกิจยั่งยืนแล้ว สัดส่วนหนี้ครัวเรือนจะต้องไม่เกินระดับ 80% ของจีดีพี

มุมมองผู้ว่าธปท. ในสถานการณ์ถูกกดดันลดดอกเบี้ย

มุมมองผู้ว่าธปท. ในสถานการณ์ถูกกดดันลดดอกเบี้ย

มุมมอง ผู้ว่า ธปท. กับแรงปะทะทางการเมือง เป็นเรื่องปกติของธนาคารกลางทุกแห่ง โดยรัฐบาลส่วนใหญ่จะมีมุมมองแค่ระยะสั้นไม่คำนึงผลข้างเคียง พร้อมยอมรับว่าการที่นายกรัฐมนตรี นั่งควบตำแหน่ง รมว.คลัง ถือเป็นความท้าทายในการทำงานร่วมกัน

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

“ดอกเบี้ยมีความพิเศษเฉพาะ” กนง.รับฟังทุกข้อเสนอ ก่อนลงมติคงดอกเบี้ย

มติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อ 2.50% กนง.พร้อมยินดีรับฟังข้อเสนอจากทุกฝ่าย ถือเป็นความหวังดีและเป็นประโยชน์ หลังถูกกดดันหนักจากรัฐบาล โดยเฉพาะนายกรัฐมนตรีที่ส่งสัญญาณถึง 3 ครั้งให้ลดดอกเบี้ยหวังกระตุ้นเศรษฐกิจ

ทำไมนักการเมืองชอบนโยบายดอกเบี้ยต่ำ?

ทำไมนักการเมืองชอบนโยบายดอกเบี้ยต่ำ?

เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ไม่เห็นด้วยหากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะขึ้นดอกเบี้ย เพราะจะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวเศรษฐกิจ หรือฉุดเศรษฐกิจชะลอตัว