ThaiPBS Logo

แท็ก: โลกร้อน

นโยบายภาคการเมือง

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ดำเนินงาน
  • ตรวจสอบ
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

ภาคพลังงาน
เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่ง รวมถึงการเตรียมการยกเลิกผลิตพลังงานโดยใช้เชื้อเพลิงถ่านหิน ภายในปี ค.ศ. 2050 ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในด้านพลังงานได้ร้อยละ 15
ภาคการเกษตร
นำร่องปรับเปลี่ยนวิธีการทำนาแบบปัจจุบันไปสู่การทำนาที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิต มุ่งเน้นการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ BCG เพื่อพัฒนาสังคมแบบองค์รวม โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง พร้อมทั้งเพิ่มคุณค่าให้กับความหลากหลายทางชีวภาพ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐกิจที่เน้นนวัตกรรม ผ่านการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากรหมุนเวียนและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนอย่างยั่งยืน

บทความ

ลดก๊าซเรือนกระจก “ต้องทำจริง” ก่อนตกขบวนการค้าโลก

ลดก๊าซเรือนกระจก “ต้องทำจริง” ก่อนตกขบวนการค้าโลก

ลดก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ภายในปี 2065 แม้จะยังช้ากว่าประชาคมโลกอยู่หลายปี แต่รัฐบาลจะต้องดำเนินการอย่างจริงจัง ก่อนถูกกีดกันทางการค้าโลก เนื่องจากประเทศที่มีเป้า Net zero มีแนวโน้มเลือกทำการค้ากับประเทศที่มีเป้า Net zero ใกล้เคียงกัน
ดัชนีลดก๊าซเรือนกระจกธุรกิจใหญ่แย่ ปตท.คะแนนต่ำเรื่องเป็นธรรม

ดัชนีลดก๊าซเรือนกระจกธุรกิจใหญ่แย่ ปตท.คะแนนต่ำเรื่องเป็นธรรม

งานวิจัยพบว่า 462 บริษัททรงอิทธิพลทั่วโลก มีประสิทธิภาพลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้เพียง 24% จากคะแนนวัดผลของ WBA (World Benchmarking Alliance) และการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมของบริษัทเหล่านี้ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กำลังเป็นปัญหาทั่วโลก
เตือน (อีกครั้ง) น้ำจะท่วมกรุง จากผลกระทบโลกเดือด

เตือน (อีกครั้ง) น้ำจะท่วมกรุง จากผลกระทบโลกเดือด

เปลี่ยนรัฐบาลมาหลายชุด แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนให้ความสนใจผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการคาดการณ์ว่ากรุงเทพมหานครจะได้รับผลกระทบติด 1 ใน 10 ของเมืองที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากน้ำท่วม เมื่อกรุงเทพฯเสี่ยงจมน้ำ และ “โลกเดือด” ไม่ใช่แค่วลีสนุกปาก
เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

สัญญาณเตือนกระทบจากเอลนีโญ ผลผลิตภาคเกษตรที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลดลงถ้วนหน้า ทั้งสาขาพืชและประมง ส่งผลให้จีดีพีไตรมาส 2 ปี 2567 ติดลบ แต่คาดว่าครึ่งปีหลังดีขึ้นจากเอลนีโญสิ้นสุดลง
จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง
กลไกคาร์บอนเครดิตร่วม ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น

กลไกคาร์บอนเครดิตร่วม ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น

ครม.ไฟเขียวร่างบันทึกว่าด้วย "กลไกเครดิตร่วม" ระหว่างรัฐบาลไทย-ญี่ปุ่น หลังดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2558 โดยไทยได้รับการสนับสนุนทางการเงิน ในขณะที่ต้องโอนคาร์บอนเครดิตให้กับญี่ปุ่น 50%
ไทยต้องลดใช้ก๊าซ มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน

ไทยต้องลดใช้ก๊าซ มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน

ประเทศไทยเดินหน้ามุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน โดยลดจัดหาเชื้อเพลิงฟอสซิลในแผน PDP 2024 หันมากเพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ผู้เชี่ยวชาญชี้ก๊าซธรรมชาติที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้าจะต้องลดลงเหลือน้อยกว่า 20% ในค.ศ. 2050 หรือ พ.ศ 2593
Fast Fashion เรื่องใกล้ตัว มหันตภัยต่อสิ่งแวดล้อม

Fast Fashion เรื่องใกล้ตัว มหันตภัยต่อสิ่งแวดล้อม

การผลิตเสื้อก็มีส่วนทำลายธรรมชาติ พบปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วน 6-8% ของทั้งโลก จากกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ และคาดว่าการเจริญเติบโตของฟาสแฟชั่น จะมีเสื้อผ้าถูกทิ้ง 134 ล้านตันต่อปีภายในสิ้นทศวรรษนี้
รู้จัก “คาร์บอนเครดิต” จูงใจเอกชนร่วมลดโลกเดือด

รู้จัก “คาร์บอนเครดิต” จูงใจเอกชนร่วมลดโลกเดือด

ทำความรู้จัก คาร์บอนเครดิต กลไกที่จะดึงภาคเอกชนร่วมให้ปรับเปลี่ยนการดำเนินธุกิจที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อบรรเทาสภาวะโลกร้อนให้ดีขึ้นในอนาคต
ทำโครงการคาร์บอนเครดิตไทย ต้องลงทุนอะไรบ้าง

ทำโครงการคาร์บอนเครดิตไทย ต้องลงทุนอะไรบ้าง

คาร์บอนเครดิตสามารถนำไปซื้อขายแลกเปลี่ยนได้ อาจสร้างรายได้และกำไรให้กับธุรกิจ แต่การสะสมคาร์บอนเครดิตจะต้องมาจากโครงการคาร์บอนเครดิตที่ได้รับการรับรองจาก T-VER โดยจะมีต้นทุนในการดำเนินการ ประเมิน และรับรองคาร์บอนเครดิต
สภาพอากาศแปรปรวนจาก”เอนโซ่” ผลผลิตข้าวลดลง

สภาพอากาศแปรปรวนจาก”เอนโซ่” ผลผลิตข้าวลดลง

จาก”เอลนีโญ” สู่ “ลานีญา” จับตาสภาพอากาศช่วงเปลี่ยนผ่าน

จาก”เอลนีโญ” สู่ “ลานีญา” จับตาสภาพอากาศช่วงเปลี่ยนผ่าน

สภาพอากาศของประเทศไทยกำลังเข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่าน จากเอลนีโญ ไปสู่ลานีญา หรือเรียกว่า "เอนโซ่" คาดว่าสภาพอากาศยังร้อนกว่าค่าเฉลี่ยเมื่อครั้งเจอปรากฏการณ์เอลนีโญรุนแรง และอาจจะเผชิญกับน้ำท่วม จากปริมาณฝนมากกว่าปกติ
เป็นไปได้แค่ไหน? ก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ในปี 2065

เป็นไปได้แค่ไหน? ก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ในปี 2065

ร่างการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่รัฐบาลไทยกำลังจะผลักดันออกมา อย่างน้อยคาดว่าจะเสนอครม.กลางปีนี้ คาดจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรมและการดำรงชีวิตของคนเราในชีวิตประจำวัน เพราะเราต่างมีราคาที่ต้องจ่าย หากต้องบรรเป้าหมายแก้ปัญหาโลกร้อน
ไทยต้องเตรียมรับมือ สภาพอากาศสุดขั้ว

ไทยต้องเตรียมรับมือ สภาพอากาศสุดขั้ว

จากสภาพอากาศร้อนอบอ้าวในปีนี้ เป็นผลจากคลื่นความร้อนกระหน่ำเอเชียในหลายประเทศ จึงเป็นสัญญาณเตือนว่า "สภาพอากาศสุดขั้ว" ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป ทั้งภัยแล้ง ไฟป่า น้ำท่วมและพายุ อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แต่คำถามก็คือ ไทยมีแผนรองรับเรื่องเหล่านี้แค่ไหน
สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ เร่งรับมือผลกระทบโลกร้อน

สิ่งที่รัฐบาลควรทำ คือ เร่งรับมือผลกระทบโลกร้อน

การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รวดเร็วเป็นปัจจัยหลักให้โลกอุณภูมิร้อนขึ้น และส่งผลกระทบทั่วโลกในหลายด้าน โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีพื้นที่ติดชายทะเลและเสี่ยงต่อน้ำท่วม ธนาคารโลกคาดหากไทยไม่เตรียมรับมืออาจทำให้เศรษฐกิจถดถอย 20-30% ภายในปี 2593
เพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ออกเกณฑ์คาร์บอนเครดิต

เพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ออกเกณฑ์คาร์บอนเครดิต

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตามที่กระทรวงทรัพยากรฯ เสนอ ตามการปรับโครงสร้างใหม่ ตั้ง "กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม" และเพิ่มอำนาจหน้าที่บอร์ดกนภ. ในการออกเกณฑ์และวิธีการจัดการคาร์บอนเครดิต
เปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืน ความท้าทายธุรกิจโรงแรมไทย

เปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืน ความท้าทายธุรกิจโรงแรมไทย

โรงแรมไทยกำลังปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าค่าเฉลี่ยในภูมิภาคเอเชีย ท่ามกลางกระแสแก้ปัญหาโลกร้อนในหลายประเทศ แม้ไม่ได้มีกฎกติกาบังคับให้โรงแรมต้องเปลี่ยนแปลงแนวทางการดำเนินงาน แต่ก็มีแรงการกระตุ้นในทางอ้อมที่มาจากความต้องการของกลุ่มลูกค้า ซึ่งถือเป็นความท้าทายของธุรกิจ
โลกร้อนทุบสถิติ เกิน 1.5 องศาก่อนยุคอุตฯนาน 12 เดือน

โลกร้อนทุบสถิติ เกิน 1.5 องศาก่อนยุคอุตฯนาน 12 เดือน

โลกร้อนทุบสถิติ อุณหภูมิพื้นผิวโลกในเดือนม.ค. 2567 เป็นเดือนที่ร้อนที่สุดตั้งแต่มีการบันทึก สูงกว่ายุคก่อนอุตสาหกรรม 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน กรีนพีซเรียกร้องลดปล่อยแก๊สเรือนกระจากทันที โดยเฉพาะบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ของโลก
สัญญาณเตือนยุคโลกเดือด “ไข้เลือดออก-มาลาเรีย”ระบาดหนัก

สัญญาณเตือนยุคโลกเดือด “ไข้เลือดออก-มาลาเรีย”ระบาดหนัก

โลกร้อน หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กำลังส่งผลกระทบมากกว่าเรื่องอากาศร้อนจัดและการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล แต่กำลังคุกคามถึงสุขภาพของคนไทย เมื่อพบว่าในปีที่ผ่านมา ไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ระบาดหนักในเอเชีย รวมถึงไทย
ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม
ย้อนรอย COP26-COP27 ข้อตกลงแก้โลกร้อน “ไม่คืบ”

ย้อนรอย COP26-COP27 ข้อตกลงแก้โลกร้อน “ไม่คืบ”

Policy Watch ชวนดูข้อสรุปที่เกิดขึ้นในเวที COP26 และ 27 รวมถึงจุดยืนของประเทศไทยในการแสดงความร่วมมือเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการลดอุณหภูมิโลก ซึ่งล้วนมีผลสืบเนื่องต่อมายังเวที COP28 โดยเฉพาะเป้าหมายในการลดอุณหภูมิโลกและการจัดตั้งกองทุน Loss and Damage Fund
พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง