บทความ
เงินสงเคราะห์บุตร ม.33-ม.39 เพิ่มเป็น 1,000 บาท เริ่ม 1 ม.ค.68
ครม.อนุมัติการเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรให้กับผู้ประกันตน ม.33 ม.39 เป็น 1,000 บาท เริ่ม 1 ม.ค.68 เพื่อบรรเทาภาระการเลี่ยงดูบุตรและส่งเสริมให้คนไทยมีลูก ท่ามกลางจำนวนเด็กเกิดใหม่ในประเทศที่ลดลงต่อเนื่องทุกปี
ประกันสังคมจ่อปรับ "เงินนำส่ง-สิทธิประโยชน์" รอบ 31 ปี
สำนักงานประกันสังคม เปิดรับฟังความเห็นร่างกฎกระทรวงกำหนดเพดานค่าจ้าง เพื่อใช้คำนวณเงินนำส่งสำหรับผู้ประกันตน ม.33 คาดเริ่มปี 69 เริ่มจากเพดานเงินเดือน 17,500 บาท และทยอยปรับจนถึง 23,000 บาทตั้งแต่ปี 75 โดยผู้ประกันตนจะต้องส่งเงินเพิ่มขึ้น แต่ก็จะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้นด้วย
กองทุนประกันสังคม: ถึงเวลาปรับใหญ่ก่อนเผชิญวิกฤต
กองทุนประกันสังคมกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ เมื่อสังคมไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมสูงอายุระดับสุดยอด" ทำให้จำเป็นต้องมีการปรับการบริหารจัดการเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่เกษียณจากการทำงาน ซึ่งทำให้กองทุนมีภาระต้องจ่ายเงินบำนาญมากขึ้นและอาจเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงินจนกระทบหลักประกันคนทำงานส่วนใหญ่ของประเทศ
เช็กขั้นตอนขอสินเชื่อบ้านธอส. สำหรับผู้ประกันตน ม.33-39-40
ธอส.ปล่อยสินเชื่อบ้านให้ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อหลักประกัน ดอกเบี้ย 5 ปีแรก อัตรา 1.59% ปีที่ 6 - 8 MRR - 2.00% ต่อปี และปีที่ 9 จนตลอดอายุสัญญา MRR - 0.50% ต่อปี โดยผู้ประกันตนขอรับสิทธิได้ตั้งแต่ 1 พ.ย. 67 เป็นต้นไป
ผู้ประกันตน ม.33, ม.39, ม.40 ได้สิทธิประโยชน์อะไร? เมื่อเสียชีวิต
ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 เสียชีวิต แม้ไม่ได้เกิดจากสถานที่ทำงาน สำนักงานประกันสังคมก็จะจ่ายเงินค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์ให้กับทายาท หากมีเงื่อนไขและหลักเกณฑ์การได้สิทธิประโยชน์ตามที่กำหนด โดยแต่ละมาตรามีสิทธิประโยชน์แตกต่างกัน
เช็กเงื่อนไข ม.33-ม.39 รับเงินทดแทน กรณีป่วยหนัก-ทุพพลภาพ
พัฒนาทุนมนุษย์ไม่ใช่ภาระ! ข้อเสนอถึงรัฐแก้ความเหลื่อมล้ำ
พัฒนา “ทุนมนุษย์” ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน ! ข้อเสนอเชิงนโยบายถึงรัฐบาล แก้กับดักความเหลื่อมล้ำ ปูทางสู่การสร้างสวัสดิการที่ทำให้ทุกคนในสังคมเท่ากัน
ลูกจ้างเจ็บป่วยจากการทำงาน ได้ค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น
สำนักงานประกันสังคม เพิ่มค่ารักษาพยาบาลให้กับลูกจ้างที่ประสบเหตุอันตราย หรือเจ็บป่วย พิการ จากการทำงานในทุกกรณี โดยจะได้รับเงินทดแทนจากกองทุนเงินทดแทนที่นายจ้างจ่ายสมทบให้ทุกปี
92 ปี เส้นทางระบบสวัสดิการไทย
ย้อนพัฒนาการระบบสวัสดิการกับ “ธร ปีติดล” ฟังมุมมองวิเคราะห์กว่า 92 ปี ประเทศไทยอยู่ตรงไหนใน “รัฐสวัสดิการ” ของโลก
เช็กสิทธิประโยชน์ กรณีถูกเลิกจ้าง-ว่างงาน
การเลิกจ้างจากความไม่แน่นอนจากภาวะเศรษฐกิจ เริ่มปรากฏให้เห็นมากขึ้น จากการปิดโรงงานหรือกิจการ แต่ลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบอย่าลืมเช็กผลประโยชน์ กรณีที่มีสิทธิได้รับจากกองทุนประกันสังคมและกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง อย่าน้อยก็บรรเทาความเดือดร้อนและมีรายได้สำหรับการตั้งหลักใหม่
เช็กสิทธิค่าคลอดบุตร ประกันสังคม ม.33, ม.39
เช็กสิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน ม.33 และ ม.39 สามารถเบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 1.5 หมื่นบาท/ครั้ง พร้อมค่าตรวจ และค่าฝากครรภ์ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 5 ครั้ง สามารถใช้สิทธิได้ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ที่เป็นผู้ประกันตนของสำนักงานประกันสังคมตามกฎหมาย
ประกันสังคม ม. 40 มีแต่บำเหน็จ ไม่มีบำนาญ
เช็กสิทธิประกันสังคมมาตรา 40 สำหรับแรงงานนอกระบบ หรือคนทำงานอิสระ ขึ้นกับอัตราการเลือกจ่าย โดยสูงสุดได้สิทธิประโชยน์ 5 ด้าน คือ เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ และสงเคราะห์บุตร แต่เมื่อชราภาพอายุครบ 60 ปี ไม่มีแบบบำนาญ ได้รับเป็นบำเหน็จก้อนเดียว
บำเหน็จ-บำนาญประกันสังคม ม.33-ม.39 คิดอย่างไร?
ผู้ประกันตน กองทุนประกันสังคม มักจะสับสนเกี่ยวกับเงินบำเหน็จบำนาญที่จะได้รับ เนื่องจากปัจจุบัน มีทั้งผู้ประกันตนมาตรา 33 และมาตรา 39 มักจะมีคำถามว่าหากลาออก หรือ ต้องออกจากการเป็นผู้ประกันตน จะได้รับบำเหน็จ หรือ บำนาญ และจะได้รับมากน้อยแค่ไหน
ความต่าง "กองทุนเงินทดแทน-กองทุนประกันสังคม"
กองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม มักจะสร้างความสับสนให้กับแรงงานและลูกจ้าง ลองไปดูความแตกต่างและเปรียบเทียบสิทธิประโยชน์การรักษาพยาบาลและจ่ายเงินชดเชย ที่ลูกจ้างจะได้รับ โดยครอบคลุมทั้งเหตุที่เกิดจากการทำงานและไม่ได้เกิดจากการทำงาน เป็นข้อมูลที่ควรรู้ไว้สำหรับเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ส่องเงื่อนไข-สิทธิ "บำเหน็จบำนาญชราภาพ" ประกันสังคมล่าสุด
นับตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2541 สำนักงานประกันสังคมได้เรียกเก็บเงินสมทบ "ชราภาพ" เพื่อเป็นเงินสะสมสำหรับสมาชิกประกันสังคมเมื่อถึงวันเกษียณอายุ ซึ่งปัจจุบัน กองทุนมีการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญชราภาพให้กับสมาชิกแล้ว แต่มีการปรับปรุงเงื่อนไขบางอย่าง ดังนั้น สมาชิกต้องมั่นตรวจสอบเพือประโยชน์ของตัวเอง
เงื่อนไข-สิทธิประโยชน์ล่าสุด ประกันสังคม ม.33-39-40
เงื่อนไขและสิทธิประโชย์ "ประกันสังคม" ล่าสุด สำหรับ "ผู้ประกันตน" ทั้งมาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 ซึ่งถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับลูกจ้าง และแรงงานนอกระบบ แต่ละประเภทได้สิทธิต่างกันตามเงื่อนไขการสมทบเข้ากองทุน