บทความ
ให้อำนาจท้องถิ่นเสนอกฎหมาย: กรณีศึกษาจากเชียงคาน
ชาวตำบลเชียงคาน ร่วมกันเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น ตาม พ.ร.บ.การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 เพื่ออนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวิถีวัฒนธรรมชุมชน หวังเป็นวัคซีนทางสังคม ในการสร้างกฎกติกาที่ชัดเจน บังคับใช้ร่วมกันอย่างยั่งยืน แก้ปัญหาความขัดแย้งจากการพัฒนา
ทำไมรัฐบาลเพื่อไทย ไม่มีนโยบายแก้คอร์รัปชัน
คำแถลงนโยบายรัฐบาลของนาวสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีความคล้ายกับของนายเศรษฐา ทวีสิน ในหลาย ๆ นโยบาย และที่คล้ายกันอย่างน่าประหลาดใจคือ ทั้งสองรัฐบาลไม่มีการระบุเกี่ยวกับนโยบายการปราบปรามการทุจริต ราวกับว่าสังคมไทยไม่มีปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันและไม่ใช่เรื่องของรัฐบาล
กระบวนการยุติธรรม "เรื่องใหญ่" แก้ทุจริต
เปิดรายงานวิเคราะห์ค่าคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตของสำนักงานป.ป.ท. ในปี 2566 พบค่าดัชนีแย่ลง อาจมาจากสังคมสงสัยการใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ พร้อมข้อเสนอแก้ไขกระบวนการยุติธรรมให้มีความโปร่งใส และให้ประชาชนเข้าถึงได้
หาหลักธรรมาภิบาลใน “สามก๊ก” เพื่อตอบโจทย์ยุคสมัย
“สามก๊ก” พงศาวดารชื่อดัง อยู่คู่สังคมไทยมานาน ที่มีคนกล่าวถึงทุกยุคทุกสมัย และตีความต่าง ๆ กัน กล่าวขานเรื่องที่เต็มไปด้วยเรื่องกลยุทธ์เล่เหลี่ยมต่าง ๆ ในการศึกสงคราม และช่วงชิงอำนาจทางการเมือง แต่วันนี่้ มีการอ่าน "สามก๊ก" อีกมุม โดยเสาะหา "หลักธรรมาภิบาล" ในยุคที่สังคมไทยมีปัญหารุนแรง
กระตุ้นอสังหาฯ-จี้ลดดอกเบี้ย เมื่อการเมืองวนลูปเดิม
คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติออกมาตรการกระตุ้นอสังหาฯ โดยอ้างว่าเพื่อสนับสนุนประชาชนมีที่อยู่อาศัย และเตรียมรองรับการกลายเป็นเมืองอุตสาหกรรมระดับโลก โดยจะผ่อนปรนเงื่อนไขให้ต่างชาติ แต่ไม่ใช่มาตรการใหม่ ล้วนเป็นมาตรการเดิม ๆ ที่เคยดำเนินการมาแล้วในยุคก่อน และเคยถูกวิจารณ์ว่า "ผลประโยชน์ทับซ้อน"
ฟอกที่ดินรัฐ ปัญหารากลึกในสังคมไทย
กรณีหลักหมุดที่ดินส.ป.ก. 4-01 ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ดูเหมือนจะเริ่มคลี่คลาย เมื่อรัฐบาลเข้าไปจัดการปัญหา โดยประกาศนโยบายใหม่ว่าจะยกเลิกการออกที่ดินส.ป.ก.ในเขตชายขอบอุทยานทั้งหมดทั่วประเทศ หลังเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์นับสัปดาห์และคนไทยทั่วไปรับไม่ได้กับกระบวนการ "ฟอกที่ดินอุทยาน"
8 ขั้นตอนออกแบบนโยบายสาธารณะ เพื่อแก้ปัญหาประเทศตรงจุด-ยั่งยืน
หน่วยงานรัฐไทยกำลังประสบปัญหาในขับเคลื่อนนโยบาย จนนำไปสู่ความล้มเหลวของโครงการจำนวนมาก และยังปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน จึงมีคำถามว่าเกิดอะไรขึ้นกับนโยบายสาธารณะไทย ล่าสุด TPLab เสนอวิธีการออกแบบนโยบายสาธารณะที่จะทำให้มีข้อมูลเพียงพอ ทันสมัย และแก้ปัญหาประชาชนได้ตรงจุดอย่างมีประสิทธิภาพ
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ไทยร่วง อับดับที่ 108 โลก
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ประจำปี 2566 ประเทศไทย ได้ 35 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 108 ของโลก และอยู่อันดับ 4 ในอาเซียน แนะไทยต้องปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมให้มีความเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซง
บทเรียนจากท่าเรือคลองใหญ่ ความสูญเปล่าจากประเมินผิดพลาด
แลนด์บริดจ์ กำลังเผชิญกับคำถามเรื่องการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจว่าคุ้มค่าตามที่สำนักนโยบายและแผนขนส่งและจราจร(สนข.) รายงานผลการศึกษาหรือไม่ เพราะบรรดานักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งทางเรือเห็นว่า "เป็นไปได้ยาก"
Mechanism Design : วิธีการสร้าง "การยอมรับ-เชื่อมั่น" ในนโยบาย
มารู้จักกับแนวคิด “การออกแบบกลไก (Mechanism Design)” เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ออกแบบกลไกหรือวิธีการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่สังคมตกลงกันหรือผู้กำหนดต้องดำเนินการ ยึดเป้าหมายมากกว่าวิธีการ โดยผู้มีส่วนได้เสียยอมรับและเชื่อมั่น
ไทยเป็นสมาชิก OECD "ไม่ง่าย" ใกล้ความจริงอีก 2 ปี
รัฐบาลยังเผชิญกับการท้าทายหลายด้าน ในเรื่องการปฏิรูปกฎระเบียบในประเทศในหลายประเด็น หลังจากเดินหน้ายื่นหนังสือแสดงเจตจำนงขอเข้าเป็นสมาชิก OECD เมื่อเข้าสู่ความร่วมมือในระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2566 – 2568
#ตั๋วเพื่อไทย ขอตำแหน่ง ‘ผู้กำกับ’ ไม่ใช่เรื่องใหม่วงการกากี
‘ระบบอุปถัมภ์’ คอร์รัปชันการแต่งตั้งโยกย้าย ฝังรากลึกวงการตำรวจไทย ล่าสุดนายกฯ หลุดปากมี สส.ขอตำแหน่งให้ผู้กำกับ ก่อนแก้ต่างว่าไม่มีอำนาจโยกย้ายตำรวจ พร้อมถอดความจากกฎหมาย ใครคือผู้แต่งตั้งผู้กำกับ
ทุจริตคอร์รัปชัน กฎหมายดี แต่ปัญหายังหนัก
การปฏิรูประบบราชการและการแก้ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน เป็นนโยบายของทุกรัฐบาล แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนสามารถแก้ปัญหาได้ โดยประเด็นดังกล่าวในความรู้สึกของประชาชนจากการสำรวจของสำนักวิจัยต่าง ๆ กลับพบว่าประชาชนมีความเห็นว่าสถานการณ์รุนแรงขึ้น