บทความ
คนรุ่นใหม่อยากมีบ้าน แต่รายได้น้อย-มีภาระ ไม่มีกำลังซื้อ
ผลสำรวจความคิดเห็นผู้บริโภคครึ่งปีหลัง พบว่ายังมีความต้องการซื้อที่อยู่อาศัย แต่ยังกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ คนเริ่มหันมากเช่ามากขึ้น เนื่องจากที่อยู่อาศัยราคาแพง ขณะคนรุ่นใหม่ กลุ่มมิลเลนเนียลและ GEN Y-Z หันมาอยู่กับพ่อแม่มากขึ้น เพราะต้องดูแลผู้สูงอายุและรายได้ไม่เพียงพอ ขอรอรับมรดก
พัฒนาทุนมนุษย์ไม่ใช่ภาระ! ข้อเสนอถึงรัฐแก้ความเหลื่อมล้ำ
พัฒนา “ทุนมนุษย์” ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน ! ข้อเสนอเชิงนโยบายถึงรัฐบาล แก้กับดักความเหลื่อมล้ำ ปูทางสู่การสร้างสวัสดิการที่ทำให้ทุกคนในสังคมเท่ากัน
หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ
ปัญหาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยพูดกันมานาน แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนแก้ไขได้ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว รัฐบาลในแต่ละยุคก็มักจะใช้มาตรการกระตุ้นระยะสั้น แต่จากสถานการณ์หลังโควิด-19 หลายประเทศพื้นตัวเร็ว แต่ไทยยังย่ำแย่ สะท้อนให้เห็นปัญหารุนแรงขึ้นจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงและสังคมสูงอายุ ฉุดบริโภคในประเทศ
92 ปี เส้นทางระบบสวัสดิการไทย
ย้อนพัฒนาการระบบสวัสดิการกับ “ธร ปีติดล” ฟังมุมมองวิเคราะห์กว่า 92 ปี ประเทศไทยอยู่ตรงไหนใน “รัฐสวัสดิการ” ของโลก
สังคมสูงอายุ กำลังฉุดเศรษฐกิจไทย แย่กว่าทุกวิกฤต
ขณะที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้จีดีพีของประเทศขยายตัวมากกว่า 3% ด้วยการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น แต่อาจไม่ง่าย เพราะศักยภาพของเศรษฐกิจไทมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่า 2% เนื่องจากปัญหาโครงสร้าง ทั้งขีดแข่งขันของประเทศ แรงงานเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้ศักยภาพแต่กว่าทุกวิกฤตที่ผ่านมา
ผลสำรวจชี้คนไทย แก่ก่อนรวยมากขึ้น
คนไทยกำลังเผชิญปัญหาในวัยเกษียณ เนื่องจากไม่มีความพร้อม โดยครัวเรือนที่มีผู้ใกล้วัยเกษียณเกิน 50 ปีและรายได้ต่ำมีสัดส่วนมากถึง 42% ต้องพึ่งพารายได้อื่น โดยเฉพาะผู้มีรายได้ต่ำกว่าเดือนละ 50,000 บาท
"หวยเกษียณ"อีกนาน ต้องแก้กฎหมาย คาดใช้ได้ปี 68
หวยเกษียณ เป็นโครงการที่ต้องการให้คนไทยมีเงินเก็บออมไว้ใช้ตอนอายุ 60 ปี ผ่านการซื้อหวย โดยมีเงินรางวัลออกทุกสัปดาห์สูงสุด 1 ล้านบาท ล่าสุด ครม.เห็นชอบหลักการของ ก.คลัง ให้ กอช.แก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ เพื่อให้สามารถดำเนินโครงการฯได้ คาดเริ่มโครงการฯภายในปี 2568
ระเบิดเวลาประชากร: เกิดน้อย แก่มาก
อัตราการเกิดของไทยลดลงเรื่อย ๆ ทำให้จำนวนการเกิดของเด็กลดน้อยลง แต่ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศไทยกำลังเผชิญกับความท้าทายสำคัญทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม ในอนาคต หากไม่มีมาตรการรองรับอย่างจริงจัง
คนไทย 40 ล้านเป็น"ผู้มีงานทำ" ทำอะไรและอยู่ที่ไหน
สถิติตัวเลขผู้มีงานทำของคนไทยราว 40 ล้านคน แต่เมื่อจำแนกออกมา จะพบว่าส่วนใหญ่ ทั้งนายจ้างและลูกจ้างกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มการค้า บริการและท่องเที่ยว จึงไม่น่าแปลกใจที่เศรษฐกิจไทยจะมีความอ่อนไหวอย่างมากจากสถานการณ์ภายนอกและภาคในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น
ไทยต้องขึ้นภาษี เลี่ยงวิกฤตการคลัง
ธนาคารโลกแนะไทยต้องขึ้นภาษี ลดความเสี่ยงทางการคลัง คาดปี 68 หนี้สาธารณะไทยจะสูงขึ้นที่ 64.6% ต่อจีดีพี รัฐบาลจะเผชิญแรงกดดันด้านรายจ่ายสูงขึ้นจากสังคมสูงวัย และขยายการการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน
ฐานะการคลังเสี่ยงสูง รายจ่ายรัฐเพิ่มจากสังคมสูงอายุ
ประชากรสูงวัยมีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ก่อนจะเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในอีก 5 ปีข้างหน้า รัฐบาลต้องเร่งหามาตรการรับมืออย่างจริงจัง เพราะรายได้ภาครัฐกำลังลดลงจากวัยคนทำงานลดลง ขณะที่รายง่ายด้านสวัสดิการที่รัฐจัดหาให้ต้องใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นอย่างมาก
ปรากฏการณ์ครอบครัว "แซนด์วิช เจเนอเรชั่น"
"แซนด์วิช เจเนอเรชั่น" เป็นปรากฏการณ์สังคมยุคใหม่ ที่มีคนหนึ่งในครอบครัว ต้องรับผิดชอบและดูแล ทั้งลูกและผู้สูงอายุ คาดครอบครัวคนไทยเกือบ 4 ล้านครอบครัวเจอปัญหานี้ ส่วนมากเป็นแรงงานนอกระบบ การศึกต่ำ และรายได้น้อย ทำให้ฐานการเงินมีความเปราะบางและสุขภาพย่ำแย่จากการทำงานหนักขึ้น
คนไทย 1 ใน 5 เป็นโสด กว่าครึ่งอาศัยอยู่ในกทม.
อัตราบำนาญพื้นฐานที่เหมาะสม และข้อพิจารณาทางเศรษฐกิจของประเทศ
รับมือสังคมสูงวัย รัฐแจก 3,000 บาท ดึงลูกหลานช่วยดูแลผู้สูงอายุ
กรมกิจการผู้สูงอายุ ให้เงินสนับสนุนครอบครัวอุปถัมป์ผู้สูงอายุ 3,000 บาท/คน/เดือน ดึงลูกหลานและชุมชนช่วยดูแลผู้สูงอายุเปราะบาง เป็นการลดภาระหน่วยงานรัฐในการดูแล และรับมือกับประชากรสูงวัยที่จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในอนาคต
ธุรกิจร้านขายยาแข่งเดือด รับสังคมสูงวัยขั้นสุดยอด
คาดการณ์ธุรกิจร้านขายในปี 67 จะเติบโต และการแข่งขันมีแนวโน้มรุนแรง จากการเร่งขยาย ท่ามกลางผู้สูงอายุในไทยที่มีแต่เพิ่มมากขึ้น และมีความเสี่ยงด้านสุขภาพ
ฝันให้ไกลไปให้ถึง เบี้ยผู้สูงอายุถ้วนหน้า 3,000 บาท
ผู้สูงอายุจำเป็นต้องมีรายได้เลี้ยงชีพในวัยเกษียณ แต่ “เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ” จ่ายสูงสุด 1,000 บาท/เดือน กลับไม่ได้ปรับขึ้นมากว่า 10 ปี ขณะที่ข้าวของแพงขึ้นทุกปี ทำให้ไม่เพียงพอกับ“ค่าใช้จ่ายขั้นต่ำ” และยังต่ำกว่าเส้นความยากจนมากขึ้นเรื่อย ๆ ล่าสุดมีข้อเสนอจ่ายถ้วนหน้า 3,000 บาท จะเป็นไปได้แค่ไหน?
เคาะขึ้น “เบี้ยผู้สูงอายุ” จ่ายทุกคน 1,000 บาท/เดือน
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนสวัสดิการโดยรัฐ ปรับขี้นเบี้ยผู้สูงอายุในรอบกว่า 10 ปี เป็น 1,000 บาท/เดือน และเปลี่ยนวิธีจ่ายเป็นแบบได้ทุกคนเท่ากัน ตามข้อเสนอของ กมธ.สวัสดิการสังคม ที่ไม่ให้เบี้ยผู้สูงอายุต่ำกว่าเส้นความยากจน และเพื่อรองรับไทยกำลังเข้าสู่งสังคมสูงวัยในอนาคต
ส่องเงื่อนไข-สิทธิ "บำเหน็จบำนาญชราภาพ" ประกันสังคมล่าสุด
นับตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2541 สำนักงานประกันสังคมได้เรียกเก็บเงินสมทบ "ชราภาพ" เพื่อเป็นเงินสะสมสำหรับสมาชิกประกันสังคมเมื่อถึงวันเกษียณอายุ ซึ่งปัจจุบัน กองทุนมีการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญชราภาพให้กับสมาชิกแล้ว แต่มีการปรับปรุงเงื่อนไขบางอย่าง ดังนั้น สมาชิกต้องมั่นตรวจสอบเพือประโยชน์ของตัวเอง
ส่งเสริมการมีบุตร เรื่องไม่ง่ายแค่ปลายนิ้ว
"ส่งเสริมการมีบุตร" ไม่ง่ายอย่างที่คาดการณ์ไว้ แม้รัฐบาลประกาศเป็นนโยบายเกือนครึ่งปี แต่ยังไม่มีข้อมูลว่าเริ่มดำเนินการได้แค่ไหน ขณะที่ผลสำรวจแรงงานและพนักงานพบว่าเกือบ 70% ไม่มีแผนมีบุตรใน 5 ปีข้างหน้า จากสารพัดปัญหา โดยเฉพาะค่าครองชีพ
มรสุมเศรษฐกิจฉุดคุณภาพชีวิต ตัวเร่ง "สังคมคนโสด"
กลุ่มคนโสดในไทยเริ่มมีแนวโน้มเร่งตัวสูงขึ้น กระทบอัตราการเกิดของเด็กใหม่ลดลงต่ำสุดในรอบ 70 ปี ทำให้รัฐบาลเตรียมประกาศส่งเสริมการมีบุตรให้เป็นวาระแห่งชาติ เพราะคาดการณ์ว่าในอนาคตประชากรไทยอาจลดเหลือเพียง 33 ล้านคน
ร่างพ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญแห่งชาติ ฉบับภาคประชาชน
เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ เสนอ (ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... บนหลักการ "ถ้วนหน้าครอบคลุมทุกคน เพียงพอต่อการดำรงชีพอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยอิงตามเส้นความยากจนที่ปรับทุก 3 ปี และยั่งยืน โดยมีกฎหมายบำนาญแห่งชาติมารองรับ”
วิกฤติกำลังแรงงานไทย อีก 30 ปีลดเหลือครึ่งเดียว
สังคมสูงวัยกำลังส่งผลกระทบมากขึ้นเรื่อย คาดว่าหลังจากเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในปี 2572 สังคมไทยจะมีกำลังแรงงานราว 58% ของประชากรทั้งประเทศ ก่อนจะลดลงเหลือ 50% ในปี 2593 หรืออีกราว 30 ปี
รายได้ผู้สูงอายุวิกฤต คาด 20 ปี ข้างหน้า 91.4% ยังต้องทำงาน
ในปีที่ผ่าน ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์" และกำลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super-Aged Society) ในปี 2567 โดยผู้มีอายุเกิน 60 ปี จะมีสัดส่วนราว 28% หรือ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ
คนไทย “แก่” แต่ยัง “เก๋า” กับ 4 เรื่องเร่งด่วนที่รัฐต้องทำ
มาตรการภาครัฐที่ต้องดำเนินการ "เร่งด่วน" รองรับ "สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" คือ ต้องออกแบบนโยบายสังคมสูงอายุที่มีประสิทธิภาพ มองก้าวข้ามแค่เรื่องเงิน ต้องยึดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง และเปิดทางให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
เงินบำเหน็จบำนาญจากรัฐ คนไทยกลุ่มไหนได้เท่าไหร่?
เงินบำเหน็จบำนาญในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่บรรดาคนที่รับราชการเท่านั้น แต่แรงงาน ทั้ง "ในระบบ-นอกระบบ" ต่างก็มีโอกาสได้รับผ่านกองทุนประกันสังคม ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจนั้นไม่ต้องห่วง เพราะมีระบบสวัสดิการของตัวเองอยู่แล้ว แต่จากเงื่อนไขที่ต่างกันทำให้บำเหน็จบำนาญที่ได้รับหลังเกษียณอายุต่างกันมาก
รัฐบาลต้องเร่งหารายได้ รับผู้สูงอายุ พุ่ง 38% ใน 4 ปี
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้รัฐบาลเพิ่มศักยภาพทางด้านการคลัง โดยเฉพาะการหารายได้ของรัฐบาล เพื่อรองรับสวัสดิการทางสังคม รับสังคมสูงวัย โดยคาดว่าค่าใช้จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น 38%
ความเท่าเทียมในสวัสดิการ “คลุมเครือ คาดหวังสูง”
ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองชูนโยบายเกี่ยวกับ “รัฐสวัสดิการ” แม้ว่าแต่ละพรรคมุ่งเน้นนโยบายต่างกัน แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า “สวัสดิการจากภาครัฐ” ได้ปักหลักอย่างมั่นคงในนโยบายของรัฐบาลนับจากนี้ไป