บทความ

ชำแหละเป้าหมาย ผลลัพธ์ มาตรการแก้ฝุ่น PM2.5
ปริมาณฝุ่น PM 2.5 ที่รุนแรงขึ้น ทำให้สังคมเริ่มตั้งคำถามถึงมาตรการแก้ปัญหาที่ผ่านมาว่ามาถูกทางหรือมีประสิทธิภาพเพียงพอกับการรับมือสถานการณ์ที่ย่ำแย่ลงทุกวันหรือไม่ รวมทั้งควรจะต้องเร่งปรับปรุงแก้ไขในจุดใดเพื่อทำให้สถานการณ์กลับมาดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่

แก้วิกฤตฝุ่น ลงมือทำได้ ระหว่างรอ “พ.ร.บ.อากาศสะอาด”
ภาควิชาการ-ประชาสังคม ขอร่วมออกแบบแนวทางการแก้วิกฤตฝุ่น ประมวล “ความเห็น” ออกมาเป็น “ความรู้” พัฒนาข้อเสนอ ผนึกกำลังนักสื่อสารสร้างกลไกขับเคลื่อนข้อมูลสร้างความเข้าใจต่อสังคม พร้อมเสนอสร้าง “พื้นที่กลาง” ทบทวนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาฝุ่นควันในช่วงที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง หวังตัดวงจรฝุ่น ก่อนกฎหมายมาถึง

สั่งห้ามเผา แก้ที่ผิว? ลดฝุ่นจิ๋วด้วยชีวิตจิ๋ว “จุลินทรีย์”
เกษตรกรกำลังถูกมองว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทั้งที่ความจริงสาเหตุของการเผาทางการเกษตรส่วนหนึ่งเป็นเพราะข้อจำกัดจนไม่มีทางเลือก ภาคประชาสังคม ภาครัฐ และเกษตรกรกำลังหันมาสนใจหาทางออกมากขึ้น หนึ่งในแนวทางนั้นคือ "จุลินทรีย์ย่อยสลายตอซังข้าว"

แก้ฝุ่นข้ามแดนอาเซียน ไม่ต้องรอ พ.ร.บ.อากาศสะอาดฯ
เพราะ MOU อาเซียน เป็นเพียงข้อตกลง ที่ไม่มีข้อผูกพันทางกฎหมาย สมมติเราได้รับหมอกควันข้ามแดนจากประเทศเพื่อนบ้าน ก็แจ้งไปที่เลขาธิการอาเซียนเพื่อแจ้งกับประเทศที่ก่อกำเนิดฝุ่นให้ดำเนินการแก้ไข เมื่อ MOU เป็นแค่ข้อตกลงเขาจะไม่ทำก็ได้

กรุงเทพฯ ฝุ่นพุ่ง ป่วยมาก ! แต่มาตรการพื้นที่ยังมุ่งจัดการแหล่งกำเนิดแบบ ‘ขอความร่วมมือ’
ฝุ่น PM2.5 ในกรุงเทพมหานครที่พุ่งสูงอยู่ในช่วงนี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน ยืนยันด้วยสถิติการเข้ารับการรักษาด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับฝุ่นเพิ่มขึ้น แต่อีกด้านหนึ่งมาตรการการแก้ปัญหากลับยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจะจัดการถึงต้นเหตุของปัญหา

เปิดผลตรวจสอบแก้ฝุ่น 5 ปี "เหลว" ใช้งบไม่คุ้มค่า-ไร้ประสิทธิภาพ
สตง.รายงานผลการตรวจสอบ มาตรการแก้ฝุ่นของรัฐบาลในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งในภาคเหนือและกทม. พบว่าไม่คุ้มค่างบประมาณ และเป็นไปอย่างไร้ประสิทธิภาพ ต้นตอแก้ปัญหาไม่ได้ เหตุขาดข้อมูล เน้นแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและต่างคนต่างทำ

เสือกระดาษ "ข้อตกลงอาเซียน" แก้ฝุ่นข้ามแดน
นายกรัฐมนตรี บอกปัญหาฝุ่น PM 2.5 เป็นวาระอาเซียน แต่หากย้อนกลับไปในช่วง 30 ปี จะพบว่าการแก้ฝุ่นข้ามแดนของอาเซียนกลับไม่ประสบผลสำเร็จเลยสักครั้ง เพราะไม่มีสภาพบังคับต่อกัน และเมื่อเกิดการเผาจนฝุ่นฟุ้ง ไทยก็ทำได้เพียงเชิญเพื่อนบ้านมาปรึกษาหารือเท่านั้น

ฝุ่นพิษเมืองกรุงหนักขึ้นทุกปี คนจ่ายดูแลสุขภาพเพิ่ม
ฤดูฝุ่นมาเยือนเมืองกรุงตามนัดของทุกปี แต่ปีนี้แรงขึ้น เมื่อดูสถิติย้อนหลังพบว่าในปีนี้หนักกว่าเดิม ชี้ให้เห็นว่าสถานการณ์เมืองกรุงแย่ลงทุกปี หากไม่รีบหามาตรการป้องกัน ขณะที่ผู้อยู่อาศัยมีรายจ่ายดูแลสุขภาพสูงขึ้น

เพราะชีวิตคนคือเศรษฐกิจ: มุมมองเชิงนโยบายจากโรคโควิด-19 สู่ฝุ่นพิษ PM 2.5
หลายปีมานี้ คนไทย โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยในภาคเหนือ ต้องเผชิญกับวิกฤต PM 2.5 ที่สูงเกินค่ามาตรฐาน จนอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงมกราคม-มีนาคมของทุกปี

ฝุ่นจากภาคเกษตร: จัดการยังไง ให้ไม่ต้องเผา?
ถึงวันที่ข่าวฝุ่นกลับมาเต็มหน้าฟีด เป็นสัญญาณว่า ประเทศไทยกำลังกลับเข้าสู่ฤดูฝุ่น PM2.5 อีกครั้ง หลังจากปัญหามลพิษทางอากาศในประเทศไทยและภูมิภาค ที่พยายามแก้ไขกันมาร่วมทศวรรษ เบาบางลงได้เพียงไม่กี่เดือน

แก้ปัญหา PM 2.5 ได้ผล รัฐบาลต้อง "จริงจัง-กระจายอำนาจ"
ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ที่มาทุกปี เป็นเรื่องที่แก้ไขยาก แม้รัฐบาลมีแนวทางที่จะดำเนินการผ่านหลายหน่วยงาน แต่ดูเหมือนยังขาดความจริงจัง ตั้งแต่กลไกการทำงานจนถึงการจัดสรรงบประมาณ ทำให้แก้ปัญหาล้มเหลว ขณะที่ตัวแทนท้องถิ่นชี้รัฐบาลต้องกระจายอำนาจในการตัดสินใจ

ก.พ.ร.กำหนดตัวชี้วัดร่วมปี 68 ยกระดับผลประเมินเทียบ PISA
ครม.มีมติเห็นชอบตัวชี้วัด Joint KPIs ใหม่ ของหน่วยงานราชการ ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยเพิ่มยกระดับผลการประเมินนักเรียนให้ได้ตามมาตรฐานของ PISA และมุ่งแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 รวมถึงยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการน้ำเพิ่มขึ้น

เตรียมมาตรการห้ามรถบรรทุกเข้ากรุง 22 พื้นที่ รับฤดูฝุ่น
กทม.เตรียมใช้มาตรการห้ามรถบรรทุกดีเซล 6 ล้อขึ้นไป เข้าพื้นที่ชั้นใน 22 เขต ช่วงฝุ่น PM 2.5 อยู่ในระดับสีแดง แต่เปิดทางให้ลงทะเบียนตั้งแต่ 1 พ.ย.67 โดยมีเงื่อนไขจะต้องเข้ากระบวนการบำรุงรักษารถ ได้แก่ เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง เปลี่ยนไส้กรองอากาศ และการติดตั้งตัวกรองอนุภาคไอเสียดีเซล

จ่ายเงินลดเผาอ้อยได้ผลน้อย เหตุต้นทุนตัดอ้อยสดสูง
จ่ายเงินลดการเผาอ้อยได้ผลเล็กน้อย ชาวไร่ยังนิยมเผาอ้อยก่อนตัดส่งโรงงาน เหตุต้นทุนตัดอ้อยสดสูงกว่าเงินชดเชย ศูนย์วิจัยกสิกรระบุต้นทุนแรงงานเกี่ยวอ้อยสดสูง และใช้ระยะเวลาเก็บเกี่ยวมากกว่า ทำให้โครงการจ่ายเงินของรัฐไม่ได้รับความสนใจ แนะใช้กลไกคาร์บอนเครดิต

เปิดโครงสร้าง 'บ้านหลังใหม่' จัดการอากาศสะอาด
การพิจารณา ร่างกฎหมายอากาศสะอาด กำลังเข้าสู่ช่วงสำคัญในชั้นกรรมาธิการวิสามัญฯ กับการหลอมรวมเนื้อหาจาก 7 ร่าง เพื่อทำให้เนื้อหาที่ออกมาสมบูรณ์ที่สุดและสามารถออกแบบกลไกการทำงานเพื่อติดตามการป้องกันมลพิษทางอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น
การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง

ตัดอ้อยสดแลกคาร์บอนด์เครดิต จูงใจงดเผาไร่ลดPM 2.5
แม้รัฐบาลส่งเสริมตัดอ้อยสด เพื่อลดการเผาก่อฝุ่น PM 2.5 แต่ก็ยังลดไม่ได้ทั้งหมด ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเสนอตัดอ้อยสดแลกเป็นคาร์บอนด์เครดิต เพื่อจูงใจและเพิ่มรายได้เกษตรกร

กสม.เสนอกระจายอำนาจ คุมไฟป่าแก้ฝุ่นควันภาคเหนือ
คณะกรรมการสิทธิฯ เสนอรัฐบาลแก้ปัญหาไฟฟ่าและฝุ่นควันใน 8 จังหวัดภาคเหนือ ต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นดูแล รวมถึงการจัดงบประมาณ พร้อมทบทวนนโยบายห้ามเผาเด็ดขาด ขณะเดียวกันต้องสร้างตัวชี้วัดให้ทุกหน่วยงานเห็นร่วมกันเพื่อนำไปปฏิบัติ

"เผา-บุกรุก"ป่า ผลพวงการพัฒนามุ่งแต่เม็ดเงิน
การบุกรุกและเผาป่า นับวันจะรุนแรงขึ้น โดยที่รัฐบาลไม่สามารถจัดการอะไรได้ นอกจากแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่ต้นตอการเผ่าป่า ทั้งเพื่อบุกรุกพัฒนาการท่องเที่ยวและปลูกข้าวโพดเพื่อส่งอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ล้วนแต่มาจากนโยบายของรัฐบาลเองที่มุ่งไปที่ "เม็ดเงิน" แต่ละเลยสังคมและคุณภาพชีวิตของคนไทย

เผาป่าในประเทศหนักมาก ความท้าทายใหม่รัฐบาลแก้ฝุ่นควัน
ภาวะฝุ่น PM 2.5 กำลังเป็นปัญหาระดับชาติของประเทศไทย และเป็นโจทย์เร่งด่วนที่รัฐบาลต้องแก้ไข จากผลศึกษาในอดีตพบฝุ่นส่วนใหญ่เกิดจากการเผาป่าไม้ที่เพิ่มมากขึ้น และยังมีการเผาตลอดทั้งปี พบเดือน มี.ค. เผามากที่สุด ส่งผลกระทบปัญหาฝุ่นหนักขึ้นในเดือนเม.ย.

ไทยนำเข้าข้าวโพดเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้น แม้เป็นตัวการเกิดฝุ่น PM 2.5

คนไทยเสี่ยงอายุสั้นจาก PM2.5 พ.ร.บ.อากาศสะอาดคือความหวัง
อายุขัยเฉลี่ยของคนไทยกำลังลดลง จากฝุ่นพิษ PM 2.5 เกินระดับมาตรฐาน เช่นเดียวกับหลายประเทศที่เผชิญปัญหานี้ แต่พ.ร.บ.อากาศสะอาด อาจเป็นความหวังในการแก้ปัญหาสภาพอากาศ หากดูตัวอย่างจากสหรัฐฯและสหราชอาณาจักร ที่มีการผลักดันกฎหมายสะอาดขึ้น จนปริมาณควันพิษลดลงถึง 65%

ทีดีอาร์ไอเสนอตั้ง คกก.นโยบายระดับชาติแก้ฝุ่น
ทีดีอาร์ไอ เสนอ 6 แนวทางแก้ไข ฝุ่น PM2.5 ทั้งในกรุงเทพฯและพื้นที่ชนบท ระบุต้องมีการตั้งกรรมการระดับชาติ เพื่อมาดูแลโดยเฉพาะ รวมทั้งต้องเร่งผลักดันกฎหมาย การบริการจัดการงบประมาณ และมีนโยบายที่ชัด ร่วมมือกับเพื่อนบ้าน

5 บทเรียน ข้อเรียนรู้เรื่องการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5
ปัญหาฝุ่น PM2.5 นับว่ามีความซับซ้อนอย่างยิ่ง เรื่องไม่ง่ายเหมือนการโต้ตอบทางการเมืองในช่วงที่ผ่านมาระหว่างฝ่ายค้านกับรัฐบาล ไพสิฐ พาณิชย์กุล ผู้อำนวยการศวอ. มองว่าการวิ่งไล่ดับไฟในช่วง "ฤดูฝุ่น" ไม่ใช่วิธีที่ได้ผล แต่เรามี“ช่วงป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ต้นทาง“ ในช่วง 8-9 เดือน ที่ต้องรีบดำเนินการ

สถิติปี 2566 คุณภาพอากาศไทยแย่ลง ติดที่ 36 โลก
ย้อนดูสถิติปี 2566 จะเห็นว่าคุณภาพอากาศในไทยแย่ลงเรื่อย ๆ โดยมีคุณภาพอากาศในระดับที่แย่เป็นอันดับที่ 5 จากทั้งหมด 9 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน และอยู่ในอันดับที่ 36 จาก 134 ประเทศทั่วโลก จากอันดับ 57 ในปี 2565

ให้อำนาจท้องถิ่นในเชียงใหม่ ช่วยป้องกัน-คุมไฟป่า
คณะกรรมการกระจายให้ท้องถิ่นฯ ออกประกาศให้องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนและช่วยเหลือกรมอุทยานฯ ป้องกันและควบคุมไฟป่า นำร่องในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และให้ช่วยแก้ปัญหาสัตว์ป่าที่ก่อให้เกิดผลกระทบ

เทียบร่างกฎหมายอากาศสะอาด 7 ฉบับ
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือกำลังวิกฤตในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ที่ติดอันดับ 2 ของเมืองที่มีมลพิษมากที่สุดในโลก จนหลายฝ่ายต้องระดมสรรพกำลังออกมาเร่งแก้ปัญหา ในวันที่ พ.ร.บ.อากาศสะอาด ซึ่งเชื่อว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างประสิทธิภาพ กำลังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กมธ.

รู้จัก 'เชียงใหม่โมเดล' แก้ปัญหาฝุ่นแบบครบวงจร
ท่ามกลางสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ที่พุ่งสูงในหลายพื้นที่ นายกฯ เศรษฐา ทวีสิน ประกาศเร่งเดินหน้าแก้ไขทั้งเรื่อง 'จุดความร้อน' และ ประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ ที่สำคัญคือให้ยึด 'เชียงใหม่โมเดล' เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา

เปิดโมเดลแก้ PM 2.5 จากต่างชาติ "ได้ผล-ยั่งยืน"
ปัญหามลพิษทางอากาศ กำลักลายเป็นปัญหาในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลก จากสภาพการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เขตเมือง หลายประเทศตระหนักถึงภัยอัตรายที่เกิดขึ้นกับคนที่อาศัยในเขตเมือง และอาจกระทบต่อเศรษฐกิจของเมืองในอนาคต หากไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ซึ่งมีตัวอย่างให้เห็นว่าประเทศที่ประสบความสำเร็จมีวิธีการอย่างไร

แก้ฝุ่น PM 2.5 ให้ได้ผล ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วม
เมื่อรัฐบาลออกมาตรการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แต่กลับไร้ผล และยิ่งเพิ่มปริมาณฝุ่นพิษในอากาศมากขึ้นทุกปี เนื่องจากข้อจำกัดใจเชิงโครงสร้าง และกรอบกฎหมายที่ไม่ชัดเจน ธนาคารโลกจึงเสนอแนวทางนโยบายแก้ปัญหาที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนช่วยกัน

กทม.จมฝุ่น PM2.5 อากาศเลวร้ายทุกปี
กรุงเทพมหานคร ยังคงเผชิญมลพิษทางอากาศมาเป็นเวลานาน แม้การแก้ปัญหาฝุ่นละอองจะเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล ผลสำรวจในปี 2566 กรุงเทพฯ มีวันสภาพอากาศดีลดลงต่อเนื่องจนทุบสถิติใหม่ และยังส่งผลกระทบสุขภาพมากขึ้นทุกปี

ความท้าทายแก้ฝุ่นควัน เมื่อรัฐออกมาตรการแต่ไร้แผน
ปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 กลับมาสร้างปัญหาเป็นระยะ แม้รัฐบาลก่อนกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ปี 2562 แต่ดูเหมือนจะดีขึ้นในระยะแรก แต่เมื่อสิ้นแผนฝุ่นควันก็กลับมาหนักขึ้น ในขณะที่รัฐบาลปัจจุบันไม่มีแผนที่ชัด มีเพียงแต่มาตรการจากครม.เป็นข้อสั่งการ

ต้นตอฝุ่นพิษในกรุงที่ถูกลืม : โรงกลั่น-โรงไฟฟ้าก๊าซ-โรงงาน
ภาคประชาสังคมเสนอรัฐบาลจัดการกับผู้ก่อมลพิษรายใหญ่ และผ่านกฎหมายการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและ เคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR)

เจาะนโยบายแก้วิกฤตฝุ่น สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน
มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มูลนิธิบูรณะนิเวศ นำบทเรียนความสำเร็วใจการแก้ปัญหามลพิษในภาคอุตสาหกรรม จาก 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เป็นตัวอย่างของความพยายามแก้ปัญหาได้จนสำเร็จ

พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน
เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”

ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน
มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”

ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม
ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5
ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม