โรงพยาบาลประกันสังคมสามารถเปลี่ยนได้ ผ่าน 4 ช่องทาง ผู้ประกันตนตรวจสอบและสามารถเปลี่ยนได้ตามเงื่อนไข โดยสามารถเปลี่ยนได้ทุกปีภายในเดือนมี.ค. สำหรับผู้ที่มีความจำเป็นย้ายที่อยู่ หรือไม่พอใจสถานพยาบาลเดิม
ครม.อนุมัติการเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรให้กับผู้ประกันตน ม.33 ม.39 เป็น 1,000 บาท เริ่ม 1 ม.ค.68 เพื่อบรรเทาภาระการเลี่ยงดูบุตรและส่งเสริมให้คนไทยมีลูก ท่ามกลางจำนวนเด็กเกิดใหม่ในประเทศที่ลดลงต่อเนื่องทุกปี
ครม.เห็นชอบหลักการร่างแก้ไข พ.ร.บ.กองทุนการออมแห่งชาติ เพื่อดำเนินโครงการหวยเกษียณ หวังส่งเสริมคนไทยออมเงินใช้ตอนเกษียณ รองรับสังคมสูงวัย
สำนักงานประกันสังคม เปิดรับฟังความเห็นร่างกฎกระทรวงกำหนดเพดานค่าจ้าง เพื่อใช้คำนวณเงินนำส่งสำหรับผู้ประกันตน ม.33 คาดเริ่มปี 69 เริ่มจากเพดานเงินเดือน 17,500 บาท และทยอยปรับจนถึง 23,000 บาทตั้งแต่ปี 75 โดยผู้ประกันตนจะต้องส่งเงินเพิ่มขึ้น แต่ก็จะได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้นด้วย
ธอส.ปล่อยสินเชื่อบ้านให้ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อหลักประกัน ดอกเบี้ย 5 ปีแรก อัตรา 1.59% ปีที่ 6 - 8 MRR - 2.00% ต่อปี และปีที่ 9 จนตลอดอายุสัญญา MRR - 0.50% ต่อปี โดยผู้ประกันตนขอรับสิทธิได้ตั้งแต่ 1 พ.ย. 67 เป็นต้นไป
ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 เสียชีวิต แม้ไม่ได้เกิดจากสถานที่ทำงาน สำนักงานประกันสังคมก็จะจ่ายเงินค่าทำศพ และเงินสงเคราะห์ให้กับทายาท หากมีเงื่อนไขและหลักเกณฑ์การได้สิทธิประโยชน์ตามที่กำหนด โดยแต่ละมาตรามีสิทธิประโยชน์แตกต่างกัน
การเลิกจ้างจากความไม่แน่นอนจากภาวะเศรษฐกิจ เริ่มปรากฏให้เห็นมากขึ้น จากการปิดโรงงานหรือกิจการ แต่ลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบอย่าลืมเช็กผลประโยชน์ กรณีที่มีสิทธิได้รับจากกองทุนประกันสังคมและกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง อย่าน้อยก็บรรเทาความเดือดร้อนและมีรายได้สำหรับการตั้งหลักใหม่
เช็กสิทธิประโยชน์ผู้ประกันตน ม.33 และ ม.39 สามารถเบิกค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 1.5 หมื่นบาท/ครั้ง พร้อมค่าตรวจ และค่าฝากครรภ์ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 5 ครั้ง สามารถใช้สิทธิได้ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ที่เป็นผู้ประกันตนของสำนักงานประกันสังคมตามกฎหมาย
เช็กสิทธิประกันสังคมมาตรา 40 สำหรับแรงงานนอกระบบ หรือคนทำงานอิสระ ขึ้นกับอัตราการเลือกจ่าย โดยสูงสุดได้สิทธิประโชยน์ 5 ด้าน คือ เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย ทุพพลภาพ เสียชีวิต ชราภาพ และสงเคราะห์บุตร แต่เมื่อชราภาพอายุครบ 60 ปี ไม่มีแบบบำนาญ ได้รับเป็นบำเหน็จก้อนเดียว
ผู้ประกันตน กองทุนประกันสังคม มักจะสับสนเกี่ยวกับเงินบำเหน็จบำนาญที่จะได้รับ เนื่องจากปัจจุบัน มีทั้งผู้ประกันตนมาตรา 33 และมาตรา 39 มักจะมีคำถามว่าหากลาออก หรือ ต้องออกจากการเป็นผู้ประกันตน จะได้รับบำเหน็จ หรือ บำนาญ และจะได้รับมากน้อยแค่ไหน
กองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม มักจะสร้างความสับสนให้กับแรงงานและลูกจ้าง ลองไปดูความแตกต่างและเปรียบเทียบสิทธิประโยชน์การรักษาพยาบาลและจ่ายเงินชดเชย ที่ลูกจ้างจะได้รับ โดยครอบคลุมทั้งเหตุที่เกิดจากการทำงานและไม่ได้เกิดจากการทำงาน เป็นข้อมูลที่ควรรู้ไว้สำหรับเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
นับตั้งแต่วันที่ 31 ธ.ค. 2541 สำนักงานประกันสังคมได้เรียกเก็บเงินสมทบ "ชราภาพ" เพื่อเป็นเงินสะสมสำหรับสมาชิกประกันสังคมเมื่อถึงวันเกษียณอายุ ซึ่งปัจจุบัน กองทุนมีการจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญชราภาพให้กับสมาชิกแล้ว แต่มีการปรับปรุงเงื่อนไขบางอย่าง ดังนั้น สมาชิกต้องมั่นตรวจสอบเพือประโยชน์ของตัวเอง
เงื่อนไขและสิทธิประโชย์ "ประกันสังคม" ล่าสุด สำหรับ "ผู้ประกันตน" ทั้งมาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 ซึ่งถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับลูกจ้าง และแรงงานนอกระบบ แต่ละประเภทได้สิทธิต่างกันตามเงื่อนไขการสมทบเข้ากองทุน
เงินบำเหน็จบำนาญในปัจจุบัน ไม่เพียงแต่บรรดาคนที่รับราชการเท่านั้น แต่แรงงาน ทั้ง "ในระบบ-นอกระบบ" ต่างก็มีโอกาสได้รับผ่านกองทุนประกันสังคม ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจนั้นไม่ต้องห่วง เพราะมีระบบสวัสดิการของตัวเองอยู่แล้ว แต่จากเงื่อนไขที่ต่างกันทำให้บำเหน็จบำนาญที่ได้รับหลังเกษียณอายุต่างกันมาก
ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองชูนโยบายเกี่ยวกับ “รัฐสวัสดิการ” แม้ว่าแต่ละพรรคมุ่งเน้นนโยบายต่างกัน แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า “สวัสดิการจากภาครัฐ” ได้ปักหลักอย่างมั่นคงในนโยบายของรัฐบาลนับจากนี้ไป