“รวยก่อนแก่” อาจไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะแต่ละคนมีต้นทุนชีวิตและวิถีการใช้จ่ายที่แตกต่างกัน แต่เป้าหมายนี้เป็นจริงได้ ถ้าทุกภาคส่วนร่วมกันส่งเสริมและออกแบบ “นโยบายการออม” ที่ทุกคนเข้าถึงได้ และขับเคลื่อนให้ไปถึงอย่างเป็นรูปธรรม
การออกแบบนโยบายเตรียมเกษียณไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับสังคมที่มีความแตกต่าง หลากหลายของผู้คนในสังคม สิ่งสำคัญคือนโยบายจำเป็นต้องออกมาเพื่อรองรับความแตกต่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผ่านมานานกว่า 20 ปีที่ไทยก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงวัย” แต่แนวนโยบายยังคงเน้นไปที่ “รัฐสวัสดิการ” เพียงอย่างเดียว ถึงเวลาต้องส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำงานได้นานขึ้นอย่างมีความสุขและมีศักดิ์ศรี ซึ่งจะเป็นทางออกในวันที่วัยแรงงานกำลังลดลง รับมือผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาการจัดการการท่องเที่ยว การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ค่าครองชีพที่สูง และการเข้าถึงบริการพื้นฐานอย่างยากลำบาก ยังคงเป็นความท้าทายสำคัญที่เกาะไทยกำลังเผชิญอยู่ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันแก้ มองหา “เป้าหมายร่วมกัน” และออกแบบ “วิธีการ” หรือ “นโยบาย” ของตัวเอง ให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ เพื่อนำพาท
พ.ร.ป. การป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2568 ประกาศใช้เพื่อเพิ่มระบบคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสคดีทุจริตต่อ ป.ป.ช. โดยไม่ต้องรับผิดหากถูกฟ้องร้องกลับ โดยหวังเพิ่มผู้ชี้เป้าทุจริตและการประพฤติมิชอบของผู้ดำรงตำเเหน่งทางการเมือง แต่ไม่ช่วยกรณีอื่น
เมื่อตาข่ายรองรับ 'ผู้สูงวัย' ไม่เท่ากัน ในขณะที่นโยบายเดิม ๆ ที่มีอยู่ก็ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ การส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุสำคัญในปัจจุบัน ที่ไทยมีอยู่อาจยังจูงใจได้ไม่มากพอ แถมยังมีเงื่อนไขอีกมาก ผศ.ศุภชัย ศรีสุชาติ ชวนดูกลยุทธ์เปรียบเทียบจากประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก
แม้ “การเจรจาสันติภาพ” จะเป็นความหวังของคนในพื้นที่ชายแดนใต้กว่า 50% แต่ความจริงบนโต๊ะเจรจา กลับยังลุ่ม ๆ ดอน ๆ ท่ามกลางการตั้งคำถามของสังคมอีกส่วนที่ยังมองการ “ปราบปราม” เป็นหนทางยุติความขัดแย้งหรือไม่ แล้วอะไรคือทางออกที่ควรจะเป็น ?
สังคมสูงวัยอาจไม่ใช่ "วิกฤต" หากมองเห็น "โอกาส" ที่ซ่อนอยู่ "การจ้างงานผู้สูงอายุ" คือกุญแจสำคัญ ที่จะไขทางรอดในมิติทางเศรษฐกิจและสังคม ที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปตามโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยน
แค่พลาดเพียงเสี้ยววินาทีอาจหมายถึง “ความสูญเสีย” ที่ไม่มีวันหวนกลับ แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน ฉบับ 5 คือความหวังที่จะจัดการปัญหาการเดินทางที่มีความซับซ้อน เชื่อมโยงกับปัจจัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมของผู้ขับขี่ สภาพถนน ยานพาหนะ การบังคับใช้กฎหมาย และการจัดการหลังเกิดอุบัติเหตุ
โครงการ "คุณสู้ เราช่วย" เป็นอีกมาตรการเยียวยาความเดือดร้อนชาวบ้านในยุคเศรษฐกิจตกต่ำ ท่ามกลางเสียงสะท้อนปนความสงสัยว่า แก้ปัญหาได้อย่างถูกจุด มีประสิทธิภาพและยั่งยืนแค่ไหน
ภาควิชาการ-ประชาสังคม ขอร่วมออกแบบแนวทางการแก้วิกฤตฝุ่น ประมวล “ความเห็น” ออกมาเป็น “ความรู้” พัฒนาข้อเสนอ ผนึกกำลังนักสื่อสารสร้างกลไกขับเคลื่อนข้อมูลสร้างความเข้าใจต่อสังคม พร้อมเสนอสร้าง “พื้นที่กลาง” ทบทวนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาฝุ่นควันในช่วงที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่อง หวังตัดวงจรฝุ่น ก่อนกฎหมายมาถึง
ชาวเชียงใหม่อยากเห็น ผู้บริหาร อบจ.ชุดใหม่ เดินหน้าร่วมพัฒนาจังหวัด เปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทุกขั้นตอน แก้ปัญหา คุณภาพชีวิต-เศรษฐกิจ-ปัญหาฝุ่นควัน-การศึกษา-สิทธิการเดินทาง และการกระจายอำนาจ
ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด
การฟ้องปิดปาก หรือ SLAPP ถูกนำมาเป็นเครื่องมือขัดขวางการตรวจสอบหรือ ปกป้องประโยชน์สาธารณะ ขณะที่ในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายให้ความช่วยเหลือผู้ที่ถูกดำเนินคดีจากการฟ้องปิดปาก ดังนั้น การเร่งออกกฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปากจึงเป็นอีกกลไกสำคัญสู่การตรวจสอบและป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน
การถ่ายโอนภารกิจด้านการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดจาก “กรมการแพทย์” ไปสู่ “กรมสุขภาพจิต” นับเป็นการปรับเปลี่ยนครั้งสำคัญในระบบสาธารณสุขไทย
ระบบบัตรทองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กำลังอยู่ท่ามกลางความท้าทายรอบด้าน ทั้งจากความแตกต่างและซับซ้อนมากกว่าจังหวัดอื่น รวมไปถึงต้นทุนการให้บริการที่สูงกว่า และปัญหาจากคลินิกชุมชนอบอุ่นถอนตัว ขณะที่โรงพยาบาลขนาดใหญ่ต้องแบกต้นทุนการรักษาเพราะได้รับการเบิกจ่ายจาก สปสช. เพียงบางส่วน
ลืมมือถือแล้วกระสับกระส่าย เช็กฟีดโซเชียลฯ ตลอดเวลา ไถหน้าจอตอนกินข้าวกับที่บ้าน หรือต้องคอยตอบไลน์งานในวันหยุด พฤติกรรมคุ้นชินที่กลายเป็นโรคแห่งยุคสมัย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตโดยที่หลายคนยังไม่รู้ตัว เป็นปมปัญหาที่ต้องแก้ในระดับสังคม และนโยบาย เพื่อทวงคืนสมาธิที่ถูกขโมยไปก่อนจะทำให้ใจป่วย
ผลสำรวจสุขภาวะดิจิทัล เผยคนไทย 76% ไม่เคยหยุดใช้โซเชียลมีเดียแม้แต่วันเดียว ขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า และสุขภาวะทางจิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ชี้ Gen Z สุขภาพกาย-จิตแย่สุด ขณะ Gen X เหนื่อย ต้องเชื่อมต่อโลกออนไลน์ตลอดเวล แนะเร่งเพิ่มทักษะดิจิทัลในกลุ่มเด็ก-เยาวชนเร่งด่วน เหตุยังไม่มีภูมิคุ้มกัน
“ราคาค่าไฟ” ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาพุ่งขึ้นแตะ 5 บาท/หน่วย ชี้ให้เห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องเร่งแก้ไข ขณะที่พลังงานสะอาด ถูกพูดถึงมานานนับสิบปี แต่การพัฒนาเชิงระบบยังไม่เดินหน้า นำมาสู่ข้อเสนอ “ปลดล็อกนโยบายพลังงานสะอาด สร้างโอกาสประเทศ” เร่งปรับร่าง PDP 2024
เมื่อต้นทุนทางวัฒนธรรมของคนในชุมชนจาก “ภูเขา” ทอดยาวถึง “ทะเล” ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เดินทางเข้าสู่ใจกลางเมือง เพื่อนำเสนอศักยภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนที่หลากหลาย พร้อมเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนและหาทางเชื่อมต่อเข้ากับแนวทางของ 11 อุตสาหกรรม นำมาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ซอฟต์พาวเวอร์
ผ่านมา 20 ปี กับนายกรัฐมนตรี 8 คน แต่จนถึงวันนี้ ทำไมปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ยังไม่มีทิศทางว่าจะจบ ? และสันติภาพยังคงเป็นเป้าหมายที่เดินไปไม่ถึง ?