“รวยก่อนแก่” อาจไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะแต่ละคนมีต้นทุนชีวิตและวิถีการใช้จ่ายที่แตกต่างกัน แต่เป้าหมายนี้เป็นจริงได้ ถ้าทุกภาคส่วนร่วมกันส่งเสริมและออกแบบ “นโยบายการออม” ที่ทุกคนเข้าถึงได้ และขับเคลื่อนให้ไปถึงอย่างเป็นรูปธรรม
การออกแบบนโยบายเตรียมเกษียณไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับสังคมที่มีความแตกต่าง หลากหลายของผู้คนในสังคม สิ่งสำคัญคือนโยบายจำเป็นต้องออกมาเพื่อรองรับความแตกต่างได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผ่านมานานกว่า 20 ปีที่ไทยก้าวเข้าสู่ “สังคมสูงวัย” แต่แนวนโยบายยังคงเน้นไปที่ “รัฐสวัสดิการ” เพียงอย่างเดียว ถึงเวลาต้องส่งเสริมให้ผู้สูงอายุทำงานได้นานขึ้นอย่างมีความสุขและมีศักดิ์ศรี ซึ่งจะเป็นทางออกในวันที่วัยแรงงานกำลังลดลง รับมือผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาการจัดการการท่องเที่ยว การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ค่าครองชีพที่สูง และการเข้าถึงบริการพื้นฐานอย่างยากลำบาก ยังคงเป็นความท้าทายสำคัญที่เกาะไทยกำลังเผชิญอยู่ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันแก้ มองหา “เป้าหมายร่วมกัน” และออกแบบ “วิธีการ” หรือ “นโยบาย” ของตัวเอง ให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ เพื่อนำพาท
เมื่อตาข่ายรองรับ 'ผู้สูงวัย' ไม่เท่ากัน ในขณะที่นโยบายเดิม ๆ ที่มีอยู่ก็ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ การส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุสำคัญในปัจจุบัน ที่ไทยมีอยู่อาจยังจูงใจได้ไม่มากพอ แถมยังมีเงื่อนไขอีกมาก ผศ.ศุภชัย ศรีสุชาติ ชวนดูกลยุทธ์เปรียบเทียบจากประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก
แม้ “การเจรจาสันติภาพ” จะเป็นความหวังของคนในพื้นที่ชายแดนใต้กว่า 50% แต่ความจริงบนโต๊ะเจรจา กลับยังลุ่ม ๆ ดอน ๆ ท่ามกลางการตั้งคำถามของสังคมอีกส่วนที่ยังมองการ “ปราบปราม” เป็นหนทางยุติความขัดแย้งหรือไม่ แล้วอะไรคือทางออกที่ควรจะเป็น ?
สังคมสูงวัยอาจไม่ใช่ "วิกฤต" หากมองเห็น "โอกาส" ที่ซ่อนอยู่ "การจ้างงานผู้สูงอายุ" คือกุญแจสำคัญ ที่จะไขทางรอดในมิติทางเศรษฐกิจและสังคม ที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปตามโครงสร้างประชากรที่เปลี่ยน
คนเชียงรายปรับบทบาทจาก “ผู้ประสบภัย” เป็น “ผู้มีส่วนร่วมตัดสินใจเชิงนโยบาย” ระดมความเห็นทุกภาคส่วนจากทั้งผู้ประสบภัยพิบัติ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ สื่อ เอกชน และหน่วยงานรัฐ ผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบายให้จังหวัดเชียงรายเป็นต้นแบบรับมือภัยพิบัติอย่างยั่งยืน พร้อมเสนอรัฐบาลให้การสนับสนุน
ในยุคที่ “ราคาค่าไฟ” ผันผวน “พลังงานสะอาด” กลายเป็นทางเลือกที่คนไทยเริ่มให้ความสนใจ เพราะเชื่อว่าจะช่วยให้ประหยัดและเป็นตัวเปลี่ยนเกมที่จะทำให้ระบบไฟฟ้ายั่งยืน รวมถึงหน่วยงานราชการ ที่หันมาใช้พลังงานสีเขียวทดแทน รับลูกรัฐบาลที่มีมติในปี 2022 ให้หน่วยราชการลดใช้พลังงาน 20% เพื่อรับมือวิกฤติค่าไฟแพง
ภาคใต้กำลังเข้าสู่ฤดูฝนในเดือน พ.ย.นี้ สามเดือนนับจากนี้เป็นช่วงที่ต้องเฝ้าระวัง น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม การเตรียมความพร้อมรับมือจึงต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้ ชุมชนจะต้องตอบ 3 คำถามให้ได้ หนีเมื่อไร? หนีอย่างไร? หนีไปไหน? และภาคีเครือข่ายต้องช่วยสร้างกลไกสนับสนุนให้พวกเขาเข้มแข็ง
วิกฤตอุทกภัย และปริมาณดินโคลนจำนวนมหาศาลที่พัดพาความเสียหายมาสู่เชียงรายรอบล่าสุด สะท้อนถึงปัญหา “โลกรวน” ที่การจัดการในรูปแบบเดิมไม่สามารถรับมือได้อีกต่อไป วงเสวนาระดมความคิดเห็น สู่มิติใหม่ในการจัดการภัยพิบัติอย่างยั่งยืน เสนอแผน 3 ระยะ พร้อมผลักดันให้มีกลไกร่วมระหว่างรัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม
ผลสำรวจสุขภาวะดิจิทัล เผยคนไทย 76% ไม่เคยหยุดใช้โซเชียลมีเดียแม้แต่วันเดียว ขณะที่ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า และสุขภาวะทางจิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ชี้ Gen Z สุขภาพกาย-จิตแย่สุด ขณะ Gen X เหนื่อย ต้องเชื่อมต่อโลกออนไลน์ตลอดเวล แนะเร่งเพิ่มทักษะดิจิทัลในกลุ่มเด็ก-เยาวชนเร่งด่วน เหตุยังไม่มีภูมิคุ้มกัน
หนี้เสียไทยยังคงเป็นปัญหาที่เรื้อรังต่อเนื่อง แม้จะมีมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แต่ดูเหมือนจะไม่ดีขึ้น ล่าสุดข้อมูลเครดิตบูโร เผยหนี้เสียไตรมาส 1 ปี 2567 ปรับเพิ่มขึ้นทั้งระบบภาคธุรกิจ และบุคคคลธรรมดา
ใกล้ความจริงมากขึ้น เมื่อ กมธ.วิสามัญ “ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. …” พิจารณากฎหมายครบทั้ง 35 มาตรา เร่งเดินหน้าหาฉันทามติ 3 ประเด็นละเอียดอ่อนให้จบภายใน ส.ค.นี้ เป็นของขวัญรับ “วันชนเผ่าพื้นเมืองโลก” ก่อนส่งสภาฯ เข้าสู่การพิจารณาในวาระ 2
พัฒนา “ทุนมนุษย์” ไม่ใช่ภาระ แต่เป็นความจำเป็นเร่งด่วน ! ข้อเสนอเชิงนโยบายถึงรัฐบาล แก้กับดักความเหลื่อมล้ำ ปูทางสู่การสร้างสวัสดิการที่ทำให้ทุกคนในสังคมเท่ากัน
ย้อนพัฒนาการระบบสวัสดิการกับ “ธร ปีติดล” ฟังมุมมองวิเคราะห์กว่า 92 ปี ประเทศไทยอยู่ตรงไหนใน “รัฐสวัสดิการ” ของโลก
“ไม่ได้เลือก แต่ขอร่วม” ภาคประชาชน นักวิชาการ และคนรุ่นใหม่ จับตากระบวนการเลือก สว.ชุดใหม่ ฝากข้อเสนอและความคาดหวังในการสร้างจุดเปลี่ยนทางการเมือง ปูทางสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
เมื่อต้นทุนทางวัฒนธรรมของคนในชุมชนจาก “ภูเขา” ทอดยาวถึง “ทะเล” ตั้งแต่เหนือจรดใต้ เดินทางเข้าสู่ใจกลางเมือง เพื่อนำเสนอศักยภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนที่หลากหลาย พร้อมเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนและหาทางเชื่อมต่อเข้ากับแนวทางของ 11 อุตสาหกรรม นำมาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่ซอฟต์พาวเวอร์
ผ่านมา 20 ปี กับนายกรัฐมนตรี 8 คน แต่จนถึงวันนี้ ทำไมปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ยังไม่มีทิศทางว่าจะจบ ? และสันติภาพยังคงเป็นเป้าหมายที่เดินไปไม่ถึง ?
ในต่างประเทศมีการทำซอฟพาวเวอร์อย่างจริงจังมาตั้งแต่ยุคสงครามโลก และก่อตั้งประเทศ ซึ่งอาจเป็นตัวอย่างให้ไทยในการขับเคลื่อนซอฟพาวเวอร์ที่ถือเป็นนโยบายหลักของรัฐบาลที่กำลังผลักดันอย่างเต็มที่ แต่อาจผิดทาง และกำลังเสียงบประมาณอย่างสูญเปล่า
ทุกเดือนมิถุนายนเป็นหนึ่งในเดือนที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นเดือนแห่งเทศกาลไพรด์ หรือ Pride Month ของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQIAN+) เพื่อเฉลิมฉลองและร่วมเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รวดเร็วเป็นปัจจัยหลักให้โลกอุณภูมิร้อนขึ้น และส่งผลกระทบทั่วโลกในหลายด้าน โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีพื้นที่ติดชายทะเลและเสี่ยงต่อน้ำท่วม ธนาคารโลกคาดหากไทยไม่เตรียมรับมืออาจทำให้เศรษฐกิจถดถอย 20-30% ภายในปี 2593
คณะทำงานด้านสุขภาพจิตเห็นตรงกันว่า รัฐต้องสนับสนุนการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสุขภาพจิตที่กระจายอย่างทั่วถึง และทำงานร่วมกับทุกภาคส่วนให้เกิดเป็นรูปธรรมในการจัดการแก้ปัญหาสุขภาพจิต