วิกฤตทางธรรมชาติและระบบนิเวศเริ่มมีความรุนแรงมากขึ้นในโลกยุคโลกเดือด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อธุรกิจที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลักอย่างรุนแรงในระยะยาวได้ หากไม่ช่วยกันรักษาความหลากหลายทางชีวภาพอย่างจริงจัง
ความเสียหายรุนแรงจากน้ำท่วมเชียงรายรอบนี้ นำมาสู่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงกลไกการแก้ไขปัญหาที่หลาย ๆ รัฐบาลทุ่มงบประมาณหวังลดความสูญเสียอย่างต่อเนื่อง แต่ในทางปฏิบัติยังพบปัญหาในหลายจุด ทั้งการแจ้งเตือน ระบบฐานข้อมูล จนต้องกลับมาตั้งคำถามว่าสิ่งที่ทำมาในอดีตมาถูกทางแล้วหรือไม่ และต้องทำอะไรเพิ่ม
“ราคาค่าไฟ” ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาพุ่งขึ้นแตะ 5 บาท/หน่วย ชี้ให้เห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องเร่งแก้ไข ขณะที่พลังงานสะอาด ถูกพูดถึงมานานนับสิบปี แต่การพัฒนาเชิงระบบยังไม่เดินหน้า นำมาสู่ข้อเสนอ “ปลดล็อกนโยบายพลังงานสะอาด สร้างโอกาสประเทศ” เร่งปรับร่าง PDP 2024
ยุโรปและญี่ปุ่น มีระบบจัดการซากรถยนต์และแบตเตอรี่ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ สามารถควบคุมขยะอันตรายไม่ให้หลุดรอดออกไปกระทบสิ่งแวดล้อม ขณะที่ไทยกำลังจะเป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า แต่กลับไม่มีกฎหมายควบคุมชากรถและแบตเตอรี่ เพื่อจัดการขยะอันตรายที่จะเพิ่มขึ้นในประเทศ
การพิจารณา ร่างกฎหมายอากาศสะอาด กำลังเข้าสู่ช่วงสำคัญในชั้นกรรมาธิการวิสามัญฯ กับการหลอมรวมเนื้อหาจาก 7 ร่าง เพื่อทำให้เนื้อหาที่ออกมาสมบูรณ์ที่สุดและสามารถออกแบบกลไกการทำงานเพื่อติดตามการป้องกันมลพิษทางอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Business Ready (B-READY) ดัชนีวัดความยากง่ายของการทำธุรกิจตัวใหม่กำลังจะเริ่มมีการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการน่าลงทุนของแต่ละประเทศ โดยเป็นดัชนีตัวใหม่ที่ธนาคารโลกใช้เวลาพัฒนามาหลายปี เพื่อทดแทน Doing Business ที่เผชิญกับปัญหาความโปร่งใสเสียเอง ทำให้ต้องหาวิธีการจัดอันดับใหม่
การผลิตเสื้อก็มีส่วนทำลายธรรมชาติ พบปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในสัดส่วน 6-8% ของทั้งโลก จากกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ และคาดว่าการเจริญเติบโตของฟาสแฟชั่น จะมีเสื้อผ้าถูกทิ้ง 134 ล้านตันต่อปีภายในสิ้นทศวรรษนี้
โครงการแลนด์บริดจ์ จำเป็นต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ในการก่อสร้างท่าเรือ และเส้นทางขนส่งทางบกเชื่อมทะเลฝั่งอันดามัน-อ่าวไทย ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางธรรมชาติไปอย่างถาวร มาดูกันว่าบริเวณไหนจะได้รับผลกระทบบ้าง
ธปท.จับมือแบงก์พาณิชย์ ตั้งเป้าหมายผลักดันธนาคารออกผลิตภัณฑ์การเงินสำหรับกลุ่มลูกค้าที่พร้อมปรับตัวไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน คาดออกในช่วงต้นไตรมาส 3 ของปี 2567 และหวังว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญที่สร้างแรงจูงใจให้ภาคธุรกิจในวงกว้างเกิดการปรับตัว เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของไทย
สถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือกำลังวิกฤตในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่ที่ติดอันดับ 2 ของเมืองที่มีมลพิษมากที่สุดในโลก จนหลายฝ่ายต้องระดมสรรพกำลังออกมาเร่งแก้ปัญหา ในวันที่ พ.ร.บ.อากาศสะอาด ซึ่งเชื่อว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างประสิทธิภาพ กำลังอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กมธ.
ท่ามกลางสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ที่พุ่งสูงในหลายพื้นที่ นายกฯ เศรษฐา ทวีสิน ประกาศเร่งเดินหน้าแก้ไขทั้งเรื่อง 'จุดความร้อน' และ ประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ ที่สำคัญคือให้ยึด 'เชียงใหม่โมเดล' เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มูลนิธิบูรณะนิเวศ นำบทเรียนความสำเร็วใจการแก้ปัญหามลพิษในภาคอุตสาหกรรม จาก 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เป็นตัวอย่างของความพยายามแก้ปัญหาได้จนสำเร็จ
เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”
มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”
ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน
ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม
นายกฯ ปาฐกถาพิเศษงาน Sustainability Forum 2024 เรื่อง COP28 เผย ไทยมีพลังงานสะอาดเป็นจุดแข็งดึงดูดนักลงทุนมาลงทุนในไทย เล็งประกาศเพิ่มพลังงานทดแทนเป็น 50% พร้อมตั้งเป้าลดค่าไฟอยู่ที่ 4.1 บาทต่อหน่วย
Policy Watch ชวนดูข้อสรุปที่เกิดขึ้นในเวที COP26 และ 27 รวมถึงจุดยืนของประเทศไทยในการแสดงความร่วมมือเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการลดอุณหภูมิโลก ซึ่งล้วนมีผลสืบเนื่องต่อมายังเวที COP28 โดยเฉพาะเป้าหมายในการลดอุณหภูมิโลกและการจัดตั้งกองทุน Loss and Damage Fund
เครือข่ายกลุ่มรักษ์พะโต๊ะ เปิดข้อมูลพื้นที่ก่อสร้างโครงการแลนด์บริดจ์ เพื่อใช้เป็นท่าเทียบเรือในการขนส่งสินค้า บริเวณชายฝั่งทะเล ทั้ง 2 ฝั่ง ซึ่งมีทั้งหารถมทะเล ขุดลอก พร้อมเสนอผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและผู้คนในพื้นที่ก่อสร้าง
อุตสาหกรรม EV มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง ทั้งไทยและทั่วโลก องค์การพลังงานระหว่างประเทศ (EIA) คาดว่าปริมาณการผลิตยานยนต์ EV ของโลกนับตั้งแต่ปี 2565 จะขยายตัวเฉลี่ยปีละ 33% จนทำให้มียอดผลิตสะสมสูงเกิน 200 ล้านคันภายใน ปี 2573
นักวิชาการสิ่งแวดล้อม ห่วงผลกระทบระบบนิเวศ-ทรัพยากร จุดก่อสร้างและรอบโครงการแลนด์บริดจ์ แนะศึกษาผลกระทบรอบด้านรอบคอบ เพราะอาจได้ไม่คุ้มเสีย
ผลกระทบเอลนีโญรุนแรง คาดผลกระทบไทยแล้งหนัก ภัยแล้งต่อเนื่องถึงปี 2567 ขณะที่ปริมาณน้ำใช้การได้จริงทั่วประเทศ น้อยกว่าปีที่แล้งที่สุด
เมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2566 คณะรัฐมนตรี (ครม.) รับทราบโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างอ่าวไทยและอันดามัน (โครงการแลนด์บริดจ์) ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ
นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง