บทความ
ไทยตามหลังหรือไม่? เปรียบเทียบระบบป้องกันภัยพิบัติที่รอบด้านจากรอบโลก
ระบบป้องกันภัยพิบัติที่ใช้กันทั่วโลกมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ ซึ่งมีจุดแข็ง จุดอ่อนแตกต่างกันไป การเรียนรู้จากประสบการณ์ของประเทศจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเปรียบเทียบและนำมาปรับใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสม
สทนช.เปิดแผนป้องกัน หวังแก้น้ำท่วมใต้ซ้ำซาก
สทนช.เผยโครงการป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ทั้งการระบบป้องกันและขยายพื้นที่กักเก็บ เพื่อลดผลกระทบ แต่จากสถานการณ์น้ำท่วมในปีนี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจเป็นเรื่องท้าทายอีกครั้งว่าโครงการดังกล่าวจะเพียงพอหรือไม่
ภัยพิบัติรุนแรงกระทบเศรษฐกิจหนัก หากไร้แผนรับมือ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดน้ำท่วมปี 2567 กระทบเศรษฐกิจไทยอย่างต่ำ 3 หมื่นล้านบาท และอาจสูงถึง 5 หมื่นล้านบาท หากน้ำท่วมขยายขอบเขตไปยังภาคกลางและภาคใต้ แนะทุกฝ่ายวางแผนรับมือภัยพิบัติที่เสี่ยงรุนแรงมากขึ้นจากสภาพภูมิอากาศสุดขั้ว
ยกเครื่องระบบเตือนภัยพิบัติ เพื่อลดความเสียหายจากน้ำท่วมดินถล่ม
การจัดตั้งศูนย์ภัยพิบัติให้มีมาตรฐาน เป็นประเด็นที่มีการพูดถึงกันมานาน โดยเฉพาะภายหลังจากเกิดภัยพิบัติขึ้น แต่ในที่สุดเรื่องก็เงียบหาย ทำให้การบริหารจัดการทำได้เพียงแค่ "ศูนย์บัญชาการเฉพาะ" แต่จากสถานการณ์โลกร้อน อาจถึงเวลาต้องกลับมาทบทวนกันอย่างจริงจัง เพราะภัยพิบัติอาจรุนแรงและเกิดบ่อยครั้ง
ทำไมแผนรับมือภัยพิบัติ จึงไร้ประสิทธิภาพ?
รัฐบาลใช้งบประมาณกว่าร้อยล้านบาท ในปี 65 ติดตั้งระบบเตือนเพื่อรับภัยพิบัติทั่วประเทศ แต่รายงานสหประชาชาติกลับพบว่า ชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่เสี่ยงของไทยมีเพียง 50% เท่านั้น ที่ได้รับการอบรมเตรียมการป้องกันและรู้จักการเตือนภัย ซึ่งถือเป็นปัญหาสำคัญของการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติของไทย