บทความ
ค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท “ไม่ทั่วประเทศ” แค่ 4 จังหวัด 1 อำเภอ
ค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท ยังไปไม่ถึงแรงงานทั่วประเทศ ปรับแค่ 4 จังหวัด กับ 1 อำเภอ ปรับสูงสุด คือ เกาะสมุย 55 บาท ส่วนกทม.-ปริมณฑล ปรับวันละ 9 บาท ส่วนที่เหลืออีก 67 จังหวัด ปรับวันละ 7 บาท มีผล 1 ม.ค. 68
อิเล็กทรอนิกส์ไทยตามไม่ทันโลก เสี่ยงตกงาน 1.2 แสน
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์กำลังเผชิญปัญหาใหญ่ ต้องเร่งปรับเพื่อเปลี่ยนให้ทันโลก ก่อนกลายเป็นเพียงอดีตที่เล่าขาน คาดหากไม่รีบปรับตัว จะกระทบต่อคนงาน 120,000 คนที่กระจายอยู่ในหลายภูมิภาค
เช็กสิทธิประโยชน์ กรณีถูกเลิกจ้าง-ว่างงาน
การเลิกจ้างจากความไม่แน่นอนจากภาวะเศรษฐกิจ เริ่มปรากฏให้เห็นมากขึ้น จากการปิดโรงงานหรือกิจการ แต่ลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบอย่าลืมเช็กผลประโยชน์ กรณีที่มีสิทธิได้รับจากกองทุนประกันสังคมและกองทุนสงเคราะห์ลูกจ้าง อย่าน้อยก็บรรเทาความเดือดร้อนและมีรายได้สำหรับการตั้งหลักใหม่
คนไทย 40 ล้านเป็น"ผู้มีงานทำ" ทำอะไรและอยู่ที่ไหน
สถิติตัวเลขผู้มีงานทำของคนไทยราว 40 ล้านคน แต่เมื่อจำแนกออกมา จะพบว่าส่วนใหญ่ ทั้งนายจ้างและลูกจ้างกระจุกตัวอยู่ในกลุ่มการค้า บริการและท่องเที่ยว จึงไม่น่าแปลกใจที่เศรษฐกิจไทยจะมีความอ่อนไหวอย่างมากจากสถานการณ์ภายนอกและภาคในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น
ยกเว้นภาษีเงินชดเชยเลิกจ้าง มีผลย้อนหลัง 1 ม.ค. 66
สรรพากรยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับค่าชดเชยที่ลูกจ้างได้รับจากถูกเลิกจ้าง หวังช่วยเหลือลูกจ้างที่เดือดร้อนจากการถูกเลิกจ้าง ไม่เกิน 3 แสนบาท มีผลย้อนหลัง ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2566 ใครที่จ่ายภาษีไปแล้ว สามารถยื่นขอคืนภาษีได้ภายใน 3 ปี
เพิ่มค่าครองชีพข้าราชการ-ลูกจ้าง-ทหาร วุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี
ครม.เห็นชอบสนับสนุนเงินค่าครองชีพชั่วคราวให้กับข้าราชการ ลูกจ้าง และทหารประจำการ มีผลย้อนหลังตั้งแต่ 1 พ.ค. 2567 คาดใช้งบประมาณ 2,400 ล้านบาทต่อปี
ตลาดแรงงานยุคใหม่ ทักษะภาษาอังกฤษต้องการสูงสุด
ทีดีอาร์ไอ เปิดผลวิเคราะห์การสมัครงานออนไลน์ในไทยผ่านบิ๊กดาต้า ไตรมาส 1 ปี 67 พบทักษะภาษาอังกฤษเป็นที่ต้องการในตลาดแรงงานมากที่สุด สะท้อนให้เห็นว่าเศรษฐกิจไทยมีความเชื่อมโยงกับภายนอกแนบแน่นขึ้นและต้องพึ่งพาตลาดภายนอกมากยิ่งขึ้น
"สินค้า-บริการ"แพงขึ้น เมื่อค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท
แม้ว่าค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ยังไม่มีความชัดเจน รอผลการศึกษาของคณะอนุกรรมการฯระดับจังหวัดเสนอมาแต่ละพื้นที่ แต่หากมีการปรับขึ้นจริง คาดว่าจะส่งผลให้ต้นทุนผู้ประกอบการเพิ่มขึ้น และเงินเฟ้อขยับขึ้นจากราคาสินค้าบริการปรับราคาตมต้นทุนค่าแรง
เสถียรภาพการเมือง ฉุดค่าแรง 400 บาท
การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศของรัฐบาลอาจทำได้ไม่ง่าย เพราะมีเสียงคัดค้านอย่างหนักจากภาคเอกชน สะท้อนถึงปัญหาในด้านเสถียรภาพทางการเมือง ขาดความเชื่อมั่นจากประชาชน
นับถอยหลังขึ้นค่าแรง 400 บาททั่วประเทศ ใน ก.ย.-ต.ค.
ครม.ไฟเขียวผลความคืบหน้าปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท/วัน ของกระทรวงแรงงานและบอร์ดค่าจ้าง คาดประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้บังคับใช้ ก.ย. - ต.ค. 2567
ค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท : กระทบใคร-กระทบอย่างไร
นักเศรษฐศาสตร์แนะเพิ่มทักษะ แก้ปัญหารายได้แรงงาน
นโยบายขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท ช่วยเพิ่มรายได้ลูกจ้างและลดความเหลื่อมล้ำ แม้ฟังดูดี แต่นักเศรษฐศาสตร์มองจากบทเรียนที่ผ่านมา ไม่ได้เพิ่มรายได้อย่างยั่งยืน แต่เป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แนะในระยะยาวต้องพัฒนาทักษะแรงงาน เพื่อดึงดูดงานที่มีมูลค่าสูงและเงินเดือนที่สูง
นักวิจัยทีดีอาร์ไอหนุน ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท
นักวิจัยทีดีอาร์ไอมองค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท ควรปรับมานานแล้วตามค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น แนะรัฐบาลเข้มงวดบังคับใช้อย่างจริงจัง หวั่นผู้ประกอบการหลบเลี่ยง ขณะที่ตลาดแรงงานหลังโควิด-19 เริ่มเปลี่ยนไป แรงงานต้องพัฒนาทักษะ รองรับการใช้เทคโนโลยี
ปรับค่าแรงขั้นต่ำตามหลักเศรษฐศาตร์ จะเกิดอะไรขึ้น?
ไทยกำลังจะมีการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาททั่วประเทศ ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายที่รัฐบาลได้หาเสียงไว้ ในหลักเศรษฐศาสตร์สามารถจำลองได้ว่าจะเกิดผลกระทบอะไรขึ้นต่อตลาดแรงงาน และการปรับตัวของผู้ประกอบการ หลังจากที่ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำแล้ว
เคาะค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท ในธุรกิจโรงแรม 10 จังหวัด
ครม.รับทราบผลมติคณะกรรมการค่าจ้าง และเตรียมประกาศในราชกิจจาฯ ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท นำร่องพื้นที่ท่องเที่ยว 10 จังหวัด เริ่ม 13 เม.ย. 2567 เป็นต้นไป ซึ่งนับเป็นก้าวแรกในนโยบายขึ้นค่าแรงทั่วประเทศของรัฐบาล
ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 400 บาท ธุรกิจโรงแรมใน 10 จังหวัด มีผล 13 เม.ย. 67
คณะกรรมการค่าจ้าง เคาะปรับขึ้นค่าแรงขึ้นต่ำ 400 บาท เฉพาะธุรกิจโรงแรมระดับ 4 ดาวขึ้นไป นำร่องในพื้นที่ท่องเที่ยว 10 จังหวัด มีผล 13 เม.ย. 2567 เป็นต้นไป
ตำแหน่งงานกว่า 88% กระจุกในกทม.-ปริมณฑล
กรุงเทพและปริมณฑลขยายตัวไม่หยุด จากทีดีอาร์ไอ รายงานผลการสำรวจตลาดแรงงานไทย พบประกาศรับสมัครกว่าล้านตำแหน่ง กว่า 88% กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพและปริมณฑล วุฒิระดับปริญญาตรีเป็นวุฒิขั้นต่ำที่นายจ้างต้องการมากที่สุด แนะแรงงานปรับตัวหลังทักษะ “Soft Skill” มาแรงเป็นที่ต้องการของทุกอาชีพ
เกษตรกรไทยติดกับดักรายได้ต่ำ ไร้เสน่ห์ดึงดูดแรงงานรุ่นใหม่
เกษตรกรไทยกำลังติดหล่มการพัฒนา ทำให้มีรายได้และกำไรไม่เพียงพอเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ส่งผลให้รายได้เฉลี่ยภาคเกษตรต่ำกว่านอกภาคการเกษตรอย่างมีนัยสำคัญ อีกทั้งยังมีสิ่งชักจูงให้คนรุ่นใหม่ต่างละทิ้งงานภาคเกษตร ท่ามกลางแรงงานเกษตรในปัจจุบันที่มีอายุเฉลี่ยสูงและใกล้ออกจากตลาดแรงงานมากขึ้น
“อาชีวะไทย” แรงงานทักษะฝีมือดี เนื้อหอมในตลาดโลก
นักเรียนอาชีวะเป็นภาพลักษณ์ของความรุนแรงในสังคมไทยมานานหลายปี ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของเด็กในยุคปัจจุบันที่เลือกไปเรียนสายสามัญแทนสายอาชีวศึกษา ทำให้ไทยขาดแคลนแรงงงานทักษะมีฝีมือในอุตสาหกรรมสำคัญ และในขณะเดียวกันแรงงานดังกล่าวก็เป็นที่ต้องการสูงในต่างประเทศ
แรงงานกลับบ้านเกิด เศรษฐกิจชนบทกำลังเปลี่ยน
แรงงานย้ายถิ่น หรือ ผู้อพยพจากชนบท กำลังเปลี่ยนไป เพราะจำนวนมากยังตัดสินใจกลับบ้านแทนการตั้งหลักแหล่งถาวรในเมืองที่ไปหางานทำ แต่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจสังคมในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้คนต่างจังหวัดกลับบ้านเกิดมากขึ้น
ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 77 จังหวัด เฉลี่ยวันละ 345 บาท
คณะกรรมการค่าจ้าง อนุมัติปรับค่าจ้างขั้นต่ำปี 2567 ขยับขึ้นเฉลี่ยวันละ 345 บาท ภูเก็ตปรับขึ้นสูงสุด 370 บาท ส่วนต่ำสุดอยู่ที่ 330 บาท ใน 3 จังหวัดภาคใต้ นราธิวาส ปัตตานี และยะลา ขณะที่กทม.และปริมณฑล อยู่ที่ 363 บาท