"30 บาทรักษาทุกที่" เริ่มแล้วตั้งแต่วันที่ 7 ม.ค. 2567 นำร่องใน 4 จังหวัด คือ แพร่ ร้อยเอ็ด เพชรบุรี และนราธิวาส นอกจากโรงพยาบาลของรัฐ ยังสามารถเลือกรับบริการได้ผ่านสถานพยาบาลเอกชนที่ขึ้นทะเบียน
หลังจากกระทรวงสาธารณสุข ประกาศมาตรการระยะเวลาเร่งด่วน หรือ Quick Win 100 วัน ที่มีหลายมาตรการเริ่มดำเนินการแล้ว โดยเฉพาะ "30 บาทรักษาทุกที่ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว ใน 4 จังหวัด ก็เตรียมขับเคลื่อน "Mid-Year Success" ในไตรมาส 2 ช่วง ม.ค. - มี.ค.
สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 16 มีมติรับรองกรอบทิศทางนโยบาย (Policy Statement) สังคมไทยไร้ความรุนแรง เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน หลังพบสถานการณ์คนไทยเผชิญปัญหาสุขภาพจิตที่มีความหลากหลายและความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น
สุขภาพจิตคนไทย ยังคงเป้นปัญหาที่ใหญ่และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน Policy Watch นำบทวิเคราะห์ โดย สรัช สินธุประมา หัวหน้าทีมสื่อสารสาธารณะและนักวิจัย 101 PUB ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ ปัญหา และความท้ายทายในการแก้ปัญหาสุขภาพจิตคนไทย
การแก้ไขประมวลกฎหมายยาเสพติดให้ผู้เสพคือผู้ป่วย เมื่อปี 2564 ทำให้กระทรวงสาธารณสุขต้องร่างกฎกระทรวงเกี่ยวกับการครอบครองยาบ้า รวมถึงต้องเตรียมพื้นที่รองรับ ‘ผู้ป่วย’ ด้วย ‘มินิธัญญารักษ์’
มาตรการภาครัฐที่ต้องดำเนินการ "เร่งด่วน" รองรับ "สังคมสูงวัยระดับสุดยอด" คือ ต้องออกแบบนโยบายสังคมสูงอายุที่มีประสิทธิภาพ มองก้าวข้ามแค่เรื่องเงิน ต้องยึดผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง และเปิดทางให้องค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้รัฐบาลเพิ่มศักยภาพทางด้านการคลัง โดยเฉพาะการหารายได้ของรัฐบาล เพื่อรองรับสวัสดิการทางสังคม รับสังคมสูงวัย โดยคาดว่าค่าใช้จ่ายเบี้ยผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้น 38%
ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาหลายพรรคการเมืองชูนโยบายเกี่ยวกับ “รัฐสวัสดิการ” แม้ว่าแต่ละพรรคมุ่งเน้นนโยบายต่างกัน แต่ก็ชี้ให้เห็นว่า “สวัสดิการจากภาครัฐ” ได้ปักหลักอย่างมั่นคงในนโยบายของรัฐบาลนับจากนี้ไป