
ต้องรื้อใหญ่ระบบงบประมาณ ทางออกอย่างยั่งยืนบัตรทอง
โรงพยาบาลขาดทุน บัตรทอง ล่มหรือไม่ เป็นคำถามใหญ่ที่ต้องเร่งหาทางออก ชี้ต้องปรับระบบงบประมาณ เหตุเงินบำรุงสุทธิทั้งระบบเหลือเพียง 46,000 ล้านบาท สัญญาณเตือนปี 2570 อาจเกิดปัญหาขาดสภาพคล่องอย่างหนัก

เปิดร่างพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฉบับใหม่ ตีกรอบสิทธิพื้นฐาน-เพิ่มบทบาทท้องถิ่น
รัฐบาลไฟเขียว ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฉบับใหม่ ใช้แทนฉบับเดิมที่บังคับใช้มายาวนานกว่า 20 ปี กำหนดสิทธิพื้นฐานของเด็กให้ชัดเจนขึ้น และให้หน่วยงานรัฐมีหน้าที่ดูแล พร้อมดึงองค์กรส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทและหน้าที่ดูแล ขณะที่นักกฎหมายชี้ต้องออกกฏหมายและระเบียบโดยยึด "ประโยชน์สูงสุดของเด็ก" เป็นสำคัญ

คลินิกชุมชนอบอุ่นในกทม. กำลังจะล้มละลาย?
คลินิกชุมชนอบอุ่น 276 แห่งในกทม. ในฐานะหน่วยบริการผู้ป่วยปฐมภูมิในระบบหลักประกันสุขภาพ หรือบัตรทอง กำลังวิกฤต แจ้งขอลาออกแล้ว 17 แห่ง คาดว่าจะยื่นลาออกอีก 40 แห่งภายในสิ้น 68 นี้ เหตุรูปแบบการจ่ายเงิน ทำให้ต้องแบบภาระค่าส่งตัวสูง แนะทางรอด ให้แยกงบประมาณส่งตัวออกจากงบค่าใช้จ่ายรายหัว

บอร์ดแพทย์ใหม่ประกันสังคม จ่อเพิ่มเงินทำฟัน-เปิดเผยข้อมูล
บอร์ดแพทย์ประกันสังคมชุดใหม่ เตรียมปรับเพิ่มเงินทำฟันมากกว่า 900 บาท ภายในปีนี้ ประกาศแนวทางพัฒนาสิทธิประโยชน์เน้นสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีระยะยาวและรักษาราคาไม่แพง ยืนยันสิทธิการรักษาไม่ด้อยกว่าบัตรทอง พร้อมเตรียมเปิดเผยข้อมูลประกันสังคมให้โปร่งใสมากขึ้น

ออมพอเกษียณ บททดสอบ คน รัฐ สังคม
การออมพอเกษียณ เป็นหนึ่งในวาระทางเศรษฐกิจและนโยบายสาธารณะที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกคนควรให้ความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็น คน รัฐ และ สังคม

“บัตรทอง”ไม่ล้ม แต่ วิกฤต ต้องรื้อระบบงบประมาณ
เวที Policy Forum จัดเสวนา "บัตรทอง "บนทางแยกไปต่อหรือปรับเปลี่ยนตัวแทนโรงพยาบาล, คลินิกอบอุ่น เตือน ระบบสุขภาพกำลังจะวิกฤติ ชี้ เงินบำรุงและเงินสำรองสุทธิทั้งระบบเหลือแค่ 4.6 หมื่นล้านและมีแนวโน้มลดลงหวั่นปี 2570 เผชิญวิกฤติอีกรอบ แนะรื้อระบบงบประมาณ

ประกันสังคม ม.40 ปรับเกณฑ์ จ่ายเพิ่ม “เงินทดแทน”
ประกันสังคมปรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ประโยชน์ทดแทนผู้ประกันตน ม.40 ตามกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ เสียชีวิต บำเหน็จชราภาพ และ สงเคราะห์บุตร ตามภาวะเศรษฐกิจ โดยทุกกรณีจะได้รับเงินทดแทนเพิ่มขึ้นกว่าเดิม

สิทธิของพ่อแม่ LGBTIQAN+ จะเป็นอย่างไร ภายหลังประเทศไทยมีกฎหมายสมรสเท่าเทียม
การเฉลิมฉลองเดือนไพรด์หรือเดือนแห่งความภาคภูมิใจด้านความหลากหลายทางเพศในเดือนมิถุนายน 2568 นี้ เป็นการฉลองเดือนไพรด์ครั้งแรกภายใต้บริบทที่สังคมไทยมีกฎหมายสมรสเท่าเทียม

ส่องมาตรการโลก รับมือ “สังคมสูงวัย”
เมื่อตาข่ายรองรับ 'ผู้สูงวัย' ไม่เท่ากัน ในขณะที่นโยบายเดิม ๆ ที่มีอยู่ก็ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ การส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุสำคัญในปัจจุบัน ที่ไทยมีอยู่อาจยังจูงใจได้ไม่มากพอ แถมยังมีเงื่อนไขอีกมาก ผศ.ศุภชัย ศรีสุชาติ ชวนดูกลยุทธ์เปรียบเทียบจากประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก