
ส่องนโยบาย ‘สถานชีวาภิบาล’ ผ่านมาแล้ว 2 ปี ก้าวหน้าแค่ไหน
ผ่านมาแล้ว 2 ปี กับนโยบายสถานชีวาภิบาล ความคืบหน้าวันนี้เป็นอย่างไร สถานการณ์การดูแลประคับประคองในไทยก้าวไปสู่จุดไหน ยังมีช่องว่างตรงไหนที่ต้องอุดรอยรั่วเพื่อให้คนไทยเข้าถึงการตายดี

เพิ่มผลตอบแทน บำเหน็จชราภาพ ม.33-ม.39-ม.40 มีผล 13 มี.ค.
สำนักงานกระกันสังคม ประกาศเพิ่มผลตอบแทน "เงินบำเหน็จชราภาพ" สำหรับผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40 ประจำปี 2567 โดยม.40 ได้มากสุด 4.19% ขณะที่ม.33 และ ม. 39 ผลตอบแทน 2.81%

วิธีใช้สิทธิ UCEP เจ็บป่วยฉุกเฉินขั้นวิกฤต รักษาได้ทุกโรงพยาบาล
ขั้นตอนการขอใช้สิทธิ UCEP หากประสบภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินถึงขั้นวิกฤต ตาม 6 ลักษณะอาการ คนไทยทุกคนสามารถเข้ารักษาที่โรงพยาบาลทุกแห่งที่ใกล้ที่สุดได้ทันที โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย คุ้มครองนานสุด 72 ชั่วโมง

สูตรใหม่บำนาญประกันสังคม ม.33-ม.39 เริ่ม 1 ม.ค.69
บอร์ดประกันสังคม มติเอกฉันท์ปรับสูตรคำนวณบำนาญชราภาพใหม่ ม.33 ม.39 เป็นแบบ CARE คิดจากเพดานเงินเดือนเฉลี่ยตลอดอายุการทำงานจริง ทำให้ได้เงินบำนาญมากขึ้นกว่าเดิม คาดเริ่ม 1 ม.ค. 2569 พร้อมกับเพดานค่าจ้างใหม่

วิกฤตกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หวั่นสมาชิกเงินไม่พอใช้หลังเกษียณ
กลต.เตรียมออกแผนทางเลือก Lifecycle investment ขยายสัดส่วนการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพื่อเพิ่มเงินออมให้กับสมาชิก หลังมีเงินออมน้อยเฉลี่ย 1-3 ล้านบาท/คน เสี่ยงไม่พอใช้จ่ายตอนเกษียณที่ระดับ 5-10 ล้านบาท

ทางรอดกองทุนประกันสังคม ต้องเพิ่มเงินสมทบสมาชิก
สมาชิกกองทุนประกันสังคมกว่า 20 ล้านคน กำลังเสี่ยงกับกองทุนไม่เพียงพอในอนาคต เพราะผู้ประกันตนสูงวัยเพิ่มขึ้น เป็นภาระกองทุน ทำให้รายรับน้อยกว่ารายจ่าย แนะเพิ่มเก็บเงินสมทบ แยกหน่วยลงทุนให้เป็นอิสระ และปรับพอร์ตลงทุนเพิ่มสินทรัพย์เสี่ยงที่หลากหลายและสัดส่วนลงทุนในต่างประเทศ

สมาชิกกบข. 82% เสี่ยง เงินเกษียณไม่บรรลุเป้าหมาย
สมาชิกกบข. กว่า 80% กำลังเผชิญกับความเสี่ยงเงินไม่พอหลังเกษียณในระดับที่ "ดี" สมาชิกวัยใกล้เกษียณ อายุ 55-60 ปี มีหนี้สินเฉลี่ยคนละ 1.96 ล้านบาท ไม่มีที่อยู่อาศัยของตัวเองและอายุยืนขึ้น ฐานะการเงินระดับดีต้องมีเงินเก็บ 8.63 ล้านบาท รองรับรายจ่ายเดือนละ 36,000 บาท

ทำอย่างไร กองทุนประกันสังคมจะมีอนาคต?
ประเด็นการใช้งบประมาณของสำนักงานประกันสังคมกำลังกลายประเด็นที่สนใจของสาธารณชน เนื่องจากปัจจุบันกองทุนประกันสังคมมีสมาชิกกว่า 20 ล้านคน และบริหารเงินกองทุนกว่า 2 ล้านล้านบาท แต่การถกเถียงดูเหมือนจะไม่อาจหาข้อยุติได้ เมื่ออีกฝ่ายหยิบยกระเบียบการเบิกจ่ายตามกฎหมาย กับ อีกฝ่ายมองในมุมของ "ความสมเหตุสมผล"

โฉมหน้า”สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์”ไทย หญิงมากกว่าชาย-พึ่งพาผู้อื่น
ปี 2567 เป็นปีที่สังคมเข้าสู่ "สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์" หรือ Complete aged society เมื่อสัดส่วนผู้มีอายุเกิน 60 ปีกว่า 20% โดยรูปร่างหน้าของสังคมสูงอายุไทย มีผู้สูงวัย 14.03 ล้านคน ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับผู้อื่น และอยู่คนเดียวมากขึ้น มีรายได้หลักจากบุตรหลานและ 1 ใน 3 ยังต้องทำงาน