นโยบาย “30 บาทรักษาทุกที่ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” เดินทางสู่เฟสที่ 4 รัฐบาลตั้งเป้าขยายการดำเนินงานครอบคลุมทั่วประเทศภายในสิ้นปี 2567
ร้านยาคุณภาพภายใต้การดำเนินงานของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) หนึ่งในความพยายาม แก้ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาล กำลังกลายเป็นศึกระหว่างสองวิชาชีพที่ต้องจับตาว่าจะจบลงอย่างไร
ระบบบัตรทองในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กำลังอยู่ท่ามกลางความท้าทายรอบด้าน ทั้งจากความแตกต่างและซับซ้อนมากกว่าจังหวัดอื่น รวมไปถึงต้นทุนการให้บริการที่สูงกว่า และปัญหาจากคลินิกชุมชนอบอุ่นถอนตัว ขณะที่โรงพยาบาลขนาดใหญ่ต้องแบกต้นทุนการรักษาเพราะได้รับการเบิกจ่ายจาก สปสช. เพียงบางส่วน
เช็กสิทธิ "30 บาทรักษาทุกที่" ในพื้นที่กรุงเทพมหนคร ใช้ "บัตรประชาชนใบเดียว" ผ่าน 7 หน่วยบริการนวัตกรรมของกทม. ไม่ต้องรอคิว ใบส่งตัวและไม่ต้องเสียเวลาไปโรงพยาบาลใหม่
โลกยุคหลังโควิดเปลี่ยนไปหลายด้าน แต่ผลด้านบวกเกิดขึ้นจากการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นมาแก้ปัญหา สปสช.พัฒนาบริการสุขภาพวิถีใหม่ โดยใช้ระบบไอทีและเทคโนโลยีดิจิทัลบนคลาวด์กลางภาครัฐ “GDCC” ยกระดับบริการบัตรทองยุค "นิวนอร์มอล" รองรับบริการวันละ 1 ล้านทรานแซกชันต่อวันจากโรงพยาบาลและหน่วยบริการต่าง ๆ ทั่วประเทศ
นโยบายบัตรประชาชนใบเดียวรักษาทุกที่ ได้รับเสียงตอบรับค่อนข้างดีจากประชาชนเนื่องจากช่วยเพิ่มความสะดวกในการเข้ารับบริการใกล้บ้าน โดยเตรียมนำร่องเฟส 2 เดือน มี.ค. นี้ ชวนเช็คความพร้อมและจับตาโจทย์สำคัญที่ต้องจับตาทั้งการเชื่อมโยงข้อมูลสุขภาพ และ รูปแบบการเบิกจ่ายของ สปสช.
"30 บาทรักษาทุกที่" เริ่มแล้วตั้งแต่วันที่ 7 ม.ค. 2567 นำร่องใน 4 จังหวัด คือ แพร่ ร้อยเอ็ด เพชรบุรี และนราธิวาส นอกจากโรงพยาบาลของรัฐ ยังสามารถเลือกรับบริการได้ผ่านสถานพยาบาลเอกชนที่ขึ้นทะเบียน