บทความ
ฟ้องศาลปกครอง"คุ้มครอง" ช่องทางทุนบุกรุกพื้นที่ป่า
ประเด็นความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน ทำให้เกิดข้อสงสัยว่าผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทเข้าไปก่อสร้างกันได้อย่างไร จนเกิดการบุกรุกโดยรอบพื้นที่ ซึ่งจากการประชุมบอร์ดอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 มิ.ย. 2563 พบว่าผู้ประกอบการใช้วิธียื่นศาลปกครองขอคุ้มครองชั่วคราว
มหากาพย์ครึ่งศตวรรษ ปัญหาที่ดินอุทยานแห่งชาติทับลาน
ปัญหาที่ดินบริเวณอุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นประเด็นที่มีมานานกว่าครึ่งศวรรษ นับตั้งแต่มีการประกาศเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ แม้ว่าบางส่วนจะสามารถแก้ปัญหาไปได้ แต่ก็มีบางส่วนที่ยากต่อการแก้ไขเพราะเป็นการบุกรุกพื้นที่ป่ารายใหม่ และเป็นกลุ่มทุนที่มีอิทธิพลทางการเมืองที่มีการบุกรุกต่อเนื่องรอบพื้นที่อุทยาน
ประกาศใช้เกณฑ์ แบ่ง-โอนสิทธิที่ดินส.ป.ก.ให้ทายาท
กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กำหนดหลักเกณฑ์แบ่งแยกและโอนสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 ให้กับทายาทโดยธรรม รวมถึงการนำสิทธิในที่ดินไปชำระหนี้สถาบันเกษตรกร และสามารถคืนให้กับ ส.ป.ก. โดยได้รับค่าตอบแทน
รัฐถือครองที่ดินเกินจำเป็น ไม่เอื้อประชาชนอยู่ดีกินดี
รัฐไทยถือครองที่ดินราว 60% ของทั้งประเทศ แต่การบริหารยังขาดความเป็นระบบเดียวกัน นำมาซึ่งปัญหาการทับซ้อนของพื้นที่มากถึง 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ ก่อให้เกิดข้อพิพาทกับชาวบ้านที่ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ป่าดั้งเดิมมาอย่างต่อเนื่อง
เปิดบันทึก 4 ข้อตกลง แก้ข้อพิพาทที่ดิน"ส.ป.ก.-อุทยานฯ"
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มี.ค.2567 เพื่อแก้ปัญหาข้อพิพาทเขตที่ดินระหว่างอุทยานแห่งชาติและสำนักงานส.ป.ก. โดยเฉพาะข้อพิพาทพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จะทำให้เสร็จภายใน 2 เดือน
ย้อนรอยออก ส.ป.ก.อุทยานเขาใหญ่ ใครคือไอ้โม่ง?
เปิดไทม์ไลน์ "ข้อพิพาทที่ดินอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่" จะช่วยให้เราเข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้นในพื้นที่ และมีความ "ผิดปกติ" เกิดขึ้นในกระบวนการออกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 นำไปสู่การตั้งกรรมการสอบเจ้าหน้าที่ ส.ป.ก.โคราช จนในที่สุดในการตั้งคณะอนุกรรมการแก้ปัญหาให้เสร็จเรื่องเขตพื้นที่ในเวลา 2 เดือน
จาก"ทับลานโมเดล" สู่ "เขาใหญ่" กลืนป่ามรดกโลก
ส.ป.ก.ปักหมุดอาณาเขตรุกล้ำพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ กลายเป็นปัญหาระดับชาติ เมื่อพื้นที่ป่ากำลังจะเป็นโฉนดที่ดิน นำไปซื้อขายต่อได้หลังถือครองครบ 5 ปี และกรณีนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงครั้งแรก แต่เคยเกิดขึ้นมาแล้วบนพื้นที่กว่า 900 ไร่ ในอุทยานแห่งชาติทับลาน
ปรับเกณฑ์จำแนกที่ดินใหม่ กันพื้นที่"ป่าไม้ถาวร"
การจำแนกประเภทที่ดินเป็นขั้นตอนแรก ๆ ในการจัดสรรที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร(ส.ป.ก.) แต่จากปัญหาพิพาทที่ดินอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ กรมพัฒนาที่ดินปรับเกณฑ์ใหม่ โดยจะไม่มีการจำแนกที่ดินในเขตป่าเพื่อสงวนไว้เป็นป่าถาวร
ห้ามออกส.ป.ก.พื้นที่อุทยาน-ป่าสงวน
ปัญหาที่ดินส.ป.ก.ในพื้นที่ป่าสงวนและอุทยานได้ข้อยุติ โดยเฉพาะพื้นที่เขาใหญ่ และพื้นที่อุทยานแห่งชาติและป่าสงวน เมื่อรมว.เกษตรฯออกคำสั่งห้ามจัดสรรที่ดินส.ป.ก. แต่ก็ยังสุ่มเสี่ยง เนื่องจากต้องรอใช้แผนที่ทหาร และ เป็นเพียงคำสั่งรมว.เกษตร ขณะที่การออกที่ดินส.ป.ก. เป็นกฎหมาย
ฟอกที่ดินรัฐ ปัญหารากลึกในสังคมไทย
กรณีหลักหมุดที่ดินส.ป.ก. 4-01 ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ดูเหมือนจะเริ่มคลี่คลาย เมื่อรัฐบาลเข้าไปจัดการปัญหา โดยประกาศนโยบายใหม่ว่าจะยกเลิกการออกที่ดินส.ป.ก.ในเขตชายขอบอุทยานทั้งหมดทั่วประเทศ หลังเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์นับสัปดาห์และคนไทยทั่วไปรับไม่ได้กับกระบวนการ "ฟอกที่ดินอุทยาน"
ร่างกฎกระทรวงฯ เปิดทาง"แบ่ง-โอน"ที่ดินส.ป.ก.
การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2567 มีมติรับทราบร่างกฎกระทรวงการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินของผู้ได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. .... เพื่อช่วยเหลือชาวเกษตรกรให้สามารถแบ่งแยกหรือโอนที่ดินเพื่อชำระหนี้ได้
เปิดรายละเอียดราชกิจจาฯ เปลี่ยนที่ดิน ส.ป.ก.4-01 เป็นโฉนด
หลัง ร.อ. ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบาย ยกระดับเอกสารสิทธิเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ล่าสุด ราชกิจจาฯ ลงประกาศระเบียบเพิ่มเติม เปลี่ยนที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็น ‘โฉนดเพื่อการเกษตร’ มีผลบังคับใช้ 9 ธ.ค. 2566
หนี้สิน-ที่ดินทำกิน-ราคาพืชผล นโยบาย“ไม่เคยเปลี่ยน”
รัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2566 มีทั้งกรอบนโยบายระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว ที่มุ่งเน้นกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายสำคัญ และนโยบายภาคเกษตร นับว่าเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของรัฐบาล เช่นเดียวกับรัฐบาลชุดก่อน ๆ