นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน
ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย
การต่อสู้กับคอร์รัปชันในภาคเอกชน
วงจรคอร์รัปชัน ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงในภาครัฐแต่เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกมิติตั้งแต่สถานการณ์ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขคอร์รัปชันจึงยึดโยงกับเอกชนและส่งต่อผลกระทบไปยังระบบเศรษฐกิจของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ผุด Super License ลดขั้นตอนขอใบอนุญาต
ครม.เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตและการให้บริการแก่ประชาชน เพื่อลดขั้นตอนและภาระการขออนุญาตต่าง ๆ จากหน่วยงานภาครัฐ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ลดการยื่นเอกสาร/สำเนา ตั้งศูนย์รับคำขอกลาง ตั้งระบบอนุญาตหลัก (Super License)
VAT กับความเหลื่อมล้ำ: เมื่อ VAT ยังไม่ใช่ทางเลือกที่เหมาะสม (ที่สุด) ในการลดความเหลื่อมล้ำ
แนวคิดการปฏิรูปภาษีของนายพิชัย ชุณหวชิร ที่กล่าวในเวที Sustainability Forum 2025 เมื่อ 3 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมา นำไปสู่การถกเถียงในวงกว้างถึงผลกระทบของการปฏิรูปภาษี นอกเหนือจากเรื่องการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐแล้ว “ความเหลื่อมล้ำ” เป็นอีกหนึ่งประเด็นที่ได้รับการพูดถึง
ความร่วมมือระดับนานาชาติและภูมิภาคในการต่อต้านคอร์รัปชัน
การทุจริตคอร์รัปชันในปัจจุบันมีความซับซ้อนและส่งผลกระทบเสียหายรุนแรง แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องอาศัยการการส่วนร่วมของทุกประเทศทั่วโลก ทั้งองค์กรระหว่างประเทศ และประชาชนทั้งในระดับนานาชาติ และในประเทศ
หนี้สาธารณะเริ่มขยับ เกินกรอบก.ม.วินัยการเงินการคลัง
สัญญาณร้ายหนี้สาธารณะ เริ่มขยับเกินกรอบพ.ร.บ.วินัยการเงินการคลัง จากยอดหนี้ล่าสุดเมื่อสิ้นก.ย. 67 สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อรายได้เกินกฎหมายที่กำหนดไว้ที่ 35% แม้สัดส่วนต่อจีดีพียังอยู่ในกรอบ
ความจริงและ ความหวังในการต่อต้าน ‘คอร์รัปชันเชิงนโยบาย’ ของไทย
การคอร์รัปชันเชิงนโยบาย (Policy Corruption) ส่งผลเสียหายถึงปีละ 2.6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐทั่วโลก และเป็นอุปสรรคต่อการจัดสรรทรัพยากรและการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยที่ผ่านมาในส่วนของประเทศไทยยังไม่เห็นมาตรการแก้ปัญหาที่เข้าใจกระบวนการแก้ไขเชิงระบบที่ซับซ้อน
เพิ่มเจ้าหน้าที่รัฐ 16 ตำแหน่ง ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สิน
ป.ป.ช. ออกประกาศฉบับใหม่ เพิ่ม 16 ตำแหน่งเจ้าพนักงานรัฐ ระดับผู้ช่วยเลขาธิการและผู้อำนวยการ ต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินเพิ่มเติม มีผลบังคับใช้ใน 60 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา
5 ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับสภาพคล่องและการปล่อยสินเชื่อ
'สักกะภพ' ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธปท. ออกมาชี้แจงเรื่องสภาพคล่องและการปล่อยสินเชื่อ โดยระบุว่าเป็น "ความเห็นส่วนตัว" ไม่เกี่ยวกับแบงก์ชาติ แม้ไม่ได้ระบุว่าเป็นการตอบโต้ใคร แต่หากใครที่ติดตามจะรู้ว่าเป็นตอบโต้คำวิจารณ์ของ "ทักษิณ ชินวัตร" ในเวที “Forbes Global CEO Conference”