
ดัชนีรับรู้ทุจริตปี 67 ไทยได้ 34 คะแนน ต่ำสุดรอบ 12 ปี
ผลการสำรวจดัชนีรับรู้การทุจริต วัดความโปร่งใสของภาครัฐทั่วโลก ประจำปี 2567 ไทยได้ 34 คะแนน รั้งอันดับ 5 ของอาเซียน และอันดับ 107 ของโลก ถือเป็นคะแนนต่ำสุดในรอบ 12 ปี

6 วาระเร่งด่วน พัฒนาเชียงใหม่ จากประชาชน
ชาวเชียงใหม่อยากเห็น ผู้บริหาร อบจ.ชุดใหม่ เดินหน้าร่วมพัฒนาจังหวัด เปิดพื้นที่ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทุกขั้นตอน แก้ปัญหา คุณภาพชีวิต-เศรษฐกิจ-ปัญหาฝุ่นควัน-การศึกษา-สิทธิการเดินทาง และการกระจายอำนาจ

สร้างกลไกต้านโกง พัฒนาท้องถิ่นยั่งยืน
ปล่อยให้การทุจริตกัดกินสังคมไทยมานานแค่ไหน ? ถึงเวลาแล้วที่ “หลังการเลือกตั้ง อบจ. 2568” จะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญให้ทุกคนร่วมมือกันสร้างกลไกตรวจสอบผู้นำท้องถิ่น เพื่อหยุดยั้งการคอร์รัปชัน และพลิกฟื้นบ้านเราให้กลับมาสดใสอีกครั้ง

วาดอนาคต “ภูเก็ต” โจทย์ใหญ่ ถึงว่าที่ นายก อบจ.
แม้จะมีงบประมาณ อบจ.มากถึงปีละ 1,400 ล้านบาท แต่ “ห่านที่ออกไข่ทองคำให้ประเทศ” อย่างภูเก็ตก็มีราคาที่ต้องจ่าย จากการเป็นเมืองเศรษฐกิจและท่องเที่ยวสำคัญ

ดันร่างพ.ร.บ.ไฟแนนซ์เชียลฮับ ชิงศูนย์กลางการเงิน
ครม.ไฟเขียวร่าง พ.ร.บ.ไฟแนนซ์เชียลฮับ หวังให้ไทยเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคอาเซียน ขณะที่ผลการจัดอันดับศูนย์กลางทางการเงินทั่วโลกล่าสุด กรุงเทพฯแย่ลง ร่วงไปอยู่ที่ 95 ยังห่างชั้นจากฮ่องกงอันดับ 3 และสิงคโปร์ อันดับ 4

ปลดล็อกท้องถิ่น สู่ความคาดหวังของคนชลบุรี
เป้าหมายของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ก็เพื่อลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ แก้ปัญหาของพื้นที่ได้ไวและตรงจุด ทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการกำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาจังหวัด แต่ที่ผ่านมางบประมาณ อบจ.ส่วนใหญ่ กลับถูกใช้ไปแบบตัดเสื้อโหล ไม่ตอบโจทย์ “การเติบโตของเมืองอย่างก้าวกระโดด” โดยเฉพาะกับจังหวัดชลบุรี

อีสานและความยากจน ที่พวกเราบ่นเพราะอยากให้มีคนได้ยิน
ภูมิภาคอีสานได้รับงบประมาณในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แต่ความยากจนก็ยังคงแพร่หลายในกลุ่มประชากร โดยเฉพาะเกษตรกร แม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายแก้ปัญหาแต่ก็ยังมีคำถามว่าช่วยลดความยากจนได้จริงหรือไม่ นำมาสู่ข้อเสนอเรื่องการลดช่องว่างในการคอร์รัปชันงบประมาณที่จะเป็นกุญแจสำคัญช่วยลดความเหลื่อมล้ำและยากจน

ขยายคุมเข้มบัญชีม้า ให้แบงก์ร่วมรับผิดชอบ
ธปท.ผลักดันแนวทาง "ร่วมรับผิดชอบ" แก้ปัญหาบัญชีม้า เตรียมกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ ให้เข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบ หากเกิดความเสียหาย เผยแก๊งคอลเซ็นเตอร์พัฒนาไปอีกขั้น ฟอกเงินผ่านคริปโทฯ เตรียมขยายคุมถึงสินทรัพย์ดิจิทัล

พ.ร.ก.ไซเบอร์ คุมเข้มคอลเซ็นเตอร์ มีผล ก.พ. 68
รัฐบาลเร่งคุมแก๊งคอลเซ็นเตอร์ ไฟเขียวพระราชกำหนดไซเบอร์ฉบับใหม่ คุมเข้มธุรกรรมสีเทา และ เพิ่มอำนาจ กสทช.-ค่ายมือถือระงับเบอร์โทร รวมถึงคุมฟอกเงินผ่านคริปโทเคอเรนซี่ เร่งคืนเงินผู้เสียหายไม่ต้องรอยื่นศาล เพิ่มโทษผู้เกี่ยวข้อง พร้อมให้แบงก์-ค่ายมือถือร่วมชดใช้ค่าเสียหาย