ThaiPBS Logo

บทความ

หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หมวดหมู่ :
ทั้งหมด
หน้า 1/4
“เปิบข้าว” บทเพลงชีวิตชาวนากับความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ : นโยบายรัฐบาล คือ เงื่อนไขแห่งความอยู่รอด

“เปิบข้าว” บทเพลงชีวิตชาวนากับความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ : นโยบายรัฐบาล คือ เงื่อนไขแห่งความอยู่รอด

วิกฤตน้ำเสียฟาร์มหมู รัฐห้ามปล่อย แต่ไร้กลไกดูแล

วิกฤตน้ำเสียฟาร์มหมู รัฐห้ามปล่อย แต่ไร้กลไกดูแล

ไทยมีกฎหมายควบคุมฟาร์มหมูให้บำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยแหล่งน้ำ เพื่อป้องกันทำลายสิ่งแวดล้อม แต่ระบบบำบัดน้ำเสียใช้เงินลงทุนสูงและพื้นที่จำนวนมาก เกษตรกรส่วนใหญ่จึงเลือกกักเก็บไว้นำกลับไปใช้หมุนเวียนภายในฟาร์มเรื่อย ๆ เพราะไม่มีวิธีอื่นที่จะระบายน้ำออกไปได้ และยังมีความเสี่ยงหลุดลงแหล่งน้ำธรรมชาติ

ออกพ.ร.ฎ.จัดตั้งป่าชุมชน นอกเขตป่าอนุรักษ์

ออกพ.ร.ฎ.จัดตั้งป่าชุมชน นอกเขตป่าอนุรักษ์

ครม.อนุมัติหลักการร่าง พ.ร.ฎ.จัดตั้งป่าชุมชนในพื้นที่อื่นของรัฐ พ.ศ. .... โดยเป็นการจัดตั้งป่าชุมชนบนพื้นที่อื่นของรัฐนอกเขตป่าอนุรักษ์ เพื่อส่งเสริมชาวบ้านให้ร่วมอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรรรมชาติในพื้นที่ดังกล่าว

ทส.ปรับใหม่พื้นที่ “คนอยู่กับป่า” จาก 14 เหลือ 6 แห่ง

ทส.ปรับใหม่พื้นที่ “คนอยู่กับป่า” จาก 14 เหลือ 6 แห่ง

ทส.ปรับปรุงเขต "คนอยู่กับป่า" ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ-เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตาม One Map ให้ประชาชนอยู่อาศัยได้หากอยู่มาก่อนพ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 และพ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 รวมถึงเก็บหาหรือใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในป่าที่ฟื้นตัวได้ตามฤดูกาล จากประกาศเดิม 14 พื้นที่ เหลือ 6

โลกเดือด-มาตรการการค้าเข้ม ภาคเกษตรเจอผลกระทบหนัก

โลกเดือด-มาตรการการค้าเข้ม ภาคเกษตรเจอผลกระทบหนัก

โลกเดือด หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะมาเร็วขึ้น คาดว่าในปี 2570 อุณหภูมิโลกจะแตะระดับ 1.5 องศาเหนือระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม ทำให้ส่งผลกระทบรุนแรงและบ่อยขึ้น แต่ในแง่การค้าขาย จะได้รับผลกระทบมากขึ้นจากมาตรการต่าง ๆ ที่จะออกมาแก้ปัญหาโลกร้อน

ทำอย่างไรก้าวให้พ้น วงจรอุบาทว์ ประชานิยมภาคเกษตร

ทำอย่างไรก้าวให้พ้น วงจรอุบาทว์ ประชานิยมภาคเกษตร

นักวิชาการด้านการเกษตร มองนโยบายพักหนี้เกษตรกรเป็นนโยบายประชานิยม ยิ่งทำให้เป็นหนี้เพิ่ม ไม่ช่วยให้หลุดพ้นความยากจนได้ และยังเป็นกับดักให้คนรอแต่ความช่วยเหลือ แนะรัฐบาลมุ่นเน้นแก้ปัญหาระยะกลาง-ยาว เพิ่มศักยภาพการเกษตรให้สามารถแข่งขันในตลาดโลก หากต้องการหลุดกับดักประเทศรายได้ปานกลาง

แนวเขตทับลาน เทียบแผนที่3ฉบับ เหลือพื้นที่เท่าไร

แนวเขตทับลาน เทียบแผนที่3ฉบับ เหลือพื้นที่เท่าไร

ปัญหาความขัดแย้งเรื่องที่ดินบริเวณอุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ เมื่อประกาศเขตอุทยานแห่งชาติและมีการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวน ซึ่งภาครัฐพยายามแก้ไขด้วยการ "ขีดเส่นแบ่ง" เพื่อให้เกิดความชัดเจน แต่ที่สำคัญคือ มีการใช้แผนที่หลายฉบับ ทำให้เกิดปัญหาว่าจะใช้แผนที่ฉบับไหน แม้แต่หน่วยงานรัฐ

เปิดบันทึกบอร์ดอุทยาน ค้านผู้ตรวจการแผ่นดิน “เฉือนป่าทับทาน”

เปิดบันทึกบอร์ดอุทยาน ค้านผู้ตรวจการแผ่นดิน “เฉือนป่าทับทาน”

เปิดผลการประชุมบอร์ดอุทยานแห่งชาติ ครั้งหลังสุดเมื่อปี 2563 ค้านแนวทางผู้ตรวจการแผ่นดิน เพิกถอนแนวเขตทับลานบางส่วน เผยเสี่ยงกระทบมรดกโลกและการดำเนินคดีบุกรุกป่า โดยเฉพาะพวกนายทุนกลุ่มรีสอร์ทและโรงแรม เทียบความแตกต่างพื้นที่อุทยานจากแผนที่ 3 ฉบับ หากใช้ One Map ผืนป่าทับลานจะเหลือราว 1.1 ล้านไร่

ฟ้องศาลปกครอง”คุ้มครอง” ช่องทางทุนบุกรุกพื้นที่ป่า

ฟ้องศาลปกครอง”คุ้มครอง” ช่องทางทุนบุกรุกพื้นที่ป่า

ประเด็นความขัดแย้งการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทับลาน ทำให้เกิดข้อสงสัยว่าผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทเข้าไปก่อสร้างกันได้อย่างไร จนเกิดการบุกรุกโดยรอบพื้นที่ ซึ่งจากการประชุมบอร์ดอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 มิ.ย. 2563 พบว่าผู้ประกอบการใช้วิธียื่นศาลปกครองขอคุ้มครองชั่วคราว

หน้า 1/4