ThaiPBS Logo

แท็ก: PM 2.5

นโยบายภาคการเมือง

พ.ร.บ.บริหารจัดการเพื่ออากาศสะอาด

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

กฎหมายแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ
อยู่ระหว่างการผลักดันกฎหมาย เพื่อบังคับใช้
เสนอผ่านรัฐสภา
มีผู้เสนอร่างกฎหมายหลายฉบับ ทั้งจากรัฐบาลฝ่ายค้านและภาคประชาชน

แก้ไขฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

พื้นที่เป้าหมาย
แก้ปัญหา เน้นพื้นที่มีการเผาและไฟป่าเกิดขึ้นซ้ำซาก 50%
ลดการเผา
ลดการเผาไหม้ในพื้นที่เกษตรลงให้ได้ร้อยละ 50 หรือ 3.25 ล้านไร่จากปี 2566 ที่มีพื้นที่เผาไหม้ 66% หรือ 6.5 ล้านไร่ ทั้งใน 10 ป่าอนุรักษ์ และ 10 ป่าสงวนแห่งชาติ ด้วยการทำแนวกันไฟ และแนวกันคน

บทความ

เตรียมมาตรการห้ามรถบรรทุกเข้ากรุง 22 พื้นที่ รับฤดูฝุ่น

เตรียมมาตรการห้ามรถบรรทุกเข้ากรุง 22 พื้นที่ รับฤดูฝุ่น

กทม.เตรียมใช้มาตรการห้ามรถบรรทุกดีเซล 6 ล้อขึ้นไป เข้าพื้นที่ชั้นใน 22 เขต ช่วงฝุ่น PM 2.5 อยู่ในระดับสีแดง แต่เปิดทางให้ลงทะเบียนตั้งแต่ 1 พ.ย.67 โดยมีเงื่อนไขจะต้องเข้ากระบวนการบำรุงรักษารถ ได้แก่ เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง เปลี่ยนไส้กรองอากาศ และการติดตั้งตัวกรองอนุภาคไอเสียดีเซล

ตัดอ้อยสดแลกคาร์บอนด์เครดิต จูงใจงดเผาไร่ลดPM 2.5

ตัดอ้อยสดแลกคาร์บอนด์เครดิต จูงใจงดเผาไร่ลดPM 2.5

แม้รัฐบาลส่งเสริมตัดอ้อยสด เพื่อลดการเผาก่อฝุ่น PM 2.5 แต่ก็ยังลดไม่ได้ทั้งหมด ศูนย์วิจัยกสิกรไทยเสนอตัดอ้อยสดแลกเป็นคาร์บอนด์เครดิต เพื่อจูงใจและเพิ่มรายได้เกษตรกร

กทม.จมฝุ่น PM2.5 อากาศเลวร้ายทุกปี

กทม.จมฝุ่น PM2.5 อากาศเลวร้ายทุกปี

กรุงเทพมหานคร ยังคงเผชิญมลพิษทางอากาศมาเป็นเวลานาน แม้การแก้ปัญหาฝุ่นละอองจะเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล ผลสำรวจในปี 2566 กรุงเทพฯ มีวันสภาพอากาศดีลดลงต่อเนื่องจนทุบสถิติใหม่ และยังส่งผลกระทบสุขภาพมากขึ้นทุกปี

เจาะนโยบายแก้วิกฤตฝุ่น สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน

เจาะนโยบายแก้วิกฤตฝุ่น สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน

มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ มูลนิธิบูรณะนิเวศ นำบทเรียนความสำเร็วใจการแก้ปัญหามลพิษในภาคอุตสาหกรรม จาก 3 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่เป็นตัวอย่างของความพยายามแก้ปัญหาได้จนสำเร็จ

พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน

พ.ร.บ.อากาศสะอาด ใบเบิกทางจัดการปัญหาฝุ่นพิษยั่งยืน

เมื่อรัฐบาล “เศรษฐา ทวีสิน” ยกระดับความสำคัญของการแก้ไขปัญหา ฝุ่น PM 2.5 ด้วยการประกาศให้การแก้ไขมลภาวะทางอากาศเป็น “วาระแห่งชาติ”

ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน

ชวนรู้จักสารพัดสารพิษภาคอุตสาหกรรมที่คร่าชีวิตผู้คน

มลพิษทางอากาศที่ปล่อยจากภาคอุตสาหกรรม คือ สารที่เกิดจากการใช้เชื้อเพลิง ประกอบไปด้วยก๊าซ ฝุ่นละออง ควันดำ โลหะหนัก สารอินทรีย์ระเหยง่าย และสารไดออกซิน เป็นต้นมูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้รวบรวมข้อมูลอันตรายจากสารพิษเหล่านี้ ในความ เรื่อง “PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 3: สารมลพิษทางอากาศกับผลกระทบแสนอันตราย”

ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม

ย้อนรอยบทเรียนมลพิษโรงไฟฟ้า-นิคมอุตสาหกรรม

ก่อนที่ประเทศไทยจะตื่นตัวกับปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างทุกวันนี้ ในอดีตเคยมีปัญหามลพิษที่กระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมมาก่อน มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้นำเสนอ 3 กรณีมลพิษทางอากาศจากภาคอุตสาหกรรม ผ่านบทความ PM 2.5 กับอุตสาหกรรม ตอนที่ 2: กรณีมลพิษอากาศอุตสาหกรรมในตำนาน

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ภาคอุตสาหกรรม อีกต้นต่อสำคัญสร้างฝุ่น PM2.5

ฝุ่น PM2.5 เป็นปัญหาระดับชาติที่ประเทศไทยเผชิญมาอย่างต่อเนื่อง และต้นกำเนิดฝุ่นที่รัฐบาลอาจพูดถึงไม่มากนัก นั่นคือ “อุตสาหกรรม” มูลนิธิบูรณะนิเวศ ได้สะท้อนผ่านบทความ ตอนที่ 1 “ในม่านมัวของปัญหาฝุ่น PM2.5 มี อุตสาหกรรมซ่อนเร้นอยู่” พร้อมเผยข้อมูล พื้นที่ฝุ่นหนาสอดคล้องกับจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม

‘เอลนีโญ’ ไทยเสี่ยงแล้งหนัก ปริมาณน้ำน้อยกว่าปีที่แล้งสุด

‘เอลนีโญ’ ไทยเสี่ยงแล้งหนัก ปริมาณน้ำน้อยกว่าปีที่แล้งสุด

ผลกระทบเอลนีโญรุนแรง คาดผลกระทบไทยแล้งหนัก ภัยแล้งต่อเนื่องถึงปี 2567 ขณะที่ปริมาณน้ำใช้การได้จริงทั่วประเทศ น้อยกว่าปีที่แล้งที่สุด

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

พร้อมแค่ไหน รับมือยุคโลกเดือด?

นโยบายสิ่งแวดล้อมแทบทุกรัฐบาล มักมีความสำคัญในลำดับรองหรือไม่ก็เป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แต่ในภาวะที่ทั่วโลกกำลังเข้าสู่ยุค “โลกเดือด” และเกิด “ความแปรปรวน” ยากที่จะคาดการณ์ ดังนั้นจึงถึงเวลาที่ต้องให้ความสำคัญกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง