ThaiPBS Logo
ธิติยา จารุไพบูลย์พันธ์

ธิติยา จารุไพบูลย์พันธ์

ปลดล็อกท้องถิ่น สู่ความคาดหวังของคนชลบุรี

ปลดล็อกท้องถิ่น สู่ความคาดหวังของคนชลบุรี

เป้าหมายของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ก็เพื่อลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ แก้ปัญหาของพื้นที่ได้ไวและตรงจุด ทั้งยังเป็นกลไกสำคัญในการกำหนดยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาจังหวัด แต่ที่ผ่านมางบประมาณ อบจ.ส่วนใหญ่ กลับถูกใช้ไปแบบตัดเสื้อโหล ไม่ตอบโจทย์ “การเติบโตของเมืองอย่างก้าวกระโดด” โดยเฉพาะกับจังหวัดชลบุรี

20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด

20 ปีสึนามิ : ออกแบบนโยบาย รับภัยพิบัติยุคโลกเดือด

เหตุการณ์สึนามิ ปี 2547 เป็นจุดเริ่มต้นของระบบจัดการภัยพิบัติและเครือข่ายอาสาสมัครในไทย รวมถึงการจัดทำ พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2550 ผ่านเส้นทางยาวนานมาถึงวันนี้ ประเทศไทยยังคงตกอยู่ในวังวนและเผชิญความสูญเสียจากภัยพิบัติหลากรูปแบบที่รุนแรง ซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ

ร่วมออกแบบ สสร. วางรากฐานรัฐธรรมนูญของประชาชน

ร่วมออกแบบ สสร. วางรากฐานรัฐธรรมนูญของประชาชน

เส้นทางสู่รัฐธรรมนูญใหม่ แม้ยังอีกไกลและอาจไม่เสร็จสิ้นในสมัยรัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร แต่สิ่งหนึ่งที่ทำได้เลยคือ การออกแบบ สสร. ซึ่งเป็นบันไดขั้นแรกที่จะนำไปสู่การออกแบบแกนกลางของรัฐธรรมนูญและโครงสร้างการเมืองที่เป็นของทุกคน

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน

นโยบายสาธารณะผ่านขาขึ้น แต่ไปไม่ถึงขาเคลื่อน

ในยุคที่การมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายสาธารณะ เป็นความหวังในการแก้โจทย์สังคมได้อย่างตรงจุด แต่ข้อเสนอเชิงนโยบายจากเสียงของประชาชนกลับ “ติดดอย - ติดหล่ม” การใช้นวัตกรรมเชิงนโยบาย วิเคราะห์ข้อมูลและติดตามการทำงานของผู้กำหนดนโยบาย ไปพร้อมกับการหาหน้าต่างนโยบายให้เจอ จะช่วยผลักดันข้อเสนอนโยบายลงจากดอย

ชาวเชียงรายวาดภาพอนาคต จัดการภัยพิบัติยั่งยืน

ชาวเชียงรายวาดภาพอนาคต จัดการภัยพิบัติยั่งยืน

คนเชียงรายปรับบทบาทจาก “ผู้ประสบภัย” เป็น “ผู้มีส่วนร่วมตัดสินใจเชิงนโยบาย” ระดมความเห็นทุกภาคส่วนจากทั้งผู้ประสบภัยพิบัติ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ สื่อ เอกชน และหน่วยงานรัฐ ผลักดันข้อเสนอเชิงนโยบายให้จังหวัดเชียงรายเป็นต้นแบบรับมือภัยพิบัติอย่างยั่งยืน พร้อมเสนอรัฐบาลให้การสนับสนุน

กม.สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว แต่เด็กยังถูกเลือกปฏิบัติ

กม.สมรสเท่าเทียมผ่านแล้ว แต่เด็กยังถูกเลือกปฏิบัติ

มีกฎหมายสมรสเท่าเทียม แต่แนวปฏิบัติกลับยังไม่ชัดเจน ส่งผลกระทบไปถึงเด็กในรั้วโรงเรียน ทั้งที่ต้องได้รับการป้องกันมากกว่ากลุ่มอื่น ถึงเวลาที่ต้องเชื่อมโยงทุกภาคส่วน เร่งกันสร้างการยอมรับและความเข้าใจเรื่อง “เพศหลากหลาย” ไม่ให้ติดกรอบเดิม ๆ

รัฐเน้นส่งเสริม “โซลาร์” แต่ขาดกลไกสนับสนุน

รัฐเน้นส่งเสริม “โซลาร์” แต่ขาดกลไกสนับสนุน

ในยุคที่ “ราคาค่าไฟ” ผันผวน “พลังงานสะอาด” กลายเป็นทางเลือกที่คนไทยเริ่มให้ความสนใจ เพราะเชื่อว่าจะช่วยให้ประหยัดและเป็นตัวเปลี่ยนเกมที่จะทำให้ระบบไฟฟ้ายั่งยืน รวมถึงหน่วยงานราชการ ที่หันมาใช้พลังงานสีเขียวทดแทน รับลูกรัฐบาลที่มีมติในปี 2022 ให้หน่วยราชการลดใช้พลังงาน 20% เพื่อรับมือวิกฤติค่าไฟแพง

3 โจทย์ใหญ่จัดการภัยพิบัติเชียงราย

3 โจทย์ใหญ่จัดการภัยพิบัติเชียงราย

สถานการณ์น้ำท่วม และสึนามิโคลนที่เกิดขึ้นในเชียงราย สะท้อนถึงระบบการรับมือที่ยังไม่ดีพอ และการตกอยู่ในวังวนของภัยพิบัติใหญ่มานานนับสิบปี ทำให้การพัฒนาเติบโตของ “เชียงราย” ถูกบั่นทอน “รศ.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์” เสนอ 3 แนวทาง ทำให้เมืองปลอดภัย และเดินหน้าพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวได้มากขึ้น

เสนอปรับเพดานนโยบาย หนุนชุมชนเข้มแข็งจัดการภัยพิบัติ

เสนอปรับเพดานนโยบาย หนุนชุมชนเข้มแข็งจัดการภัยพิบัติ

ภาคใต้กำลังเข้าสู่ฤดูฝนในเดือน พ.ย.นี้ สามเดือนนับจากนี้เป็นช่วงที่ต้องเฝ้าระวัง น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม การเตรียมความพร้อมรับมือจึงต้องเริ่มตั้งแต่วันนี้ ชุมชนจะต้องตอบ 3 คำถามให้ได้ หนีเมื่อไร? หนีอย่างไร? หนีไปไหน? และภาคีเครือข่ายต้องช่วยสร้างกลไกสนับสนุนให้พวกเขาเข้มแข็ง

หน้า 2/4