ภายหลัง กนง.มีมติลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายในรอบกว่า 4 ปี จาก 2.50% สู่ระดับ 2.25% ต่อปี ส่งผลให้ธนาคารพาณิชย์ในไทยต้องทยอยประกาศปรับลดดอกเบี้ยลงตาม แล้วประชาชนคนไทยได้ประโยชน์อะไรบ้างจากการลดดอกเบี้ยครั้งนี้
มติ กนง.ลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี เหลือ 2.25% ต่อปี มองสอดคล้องกับศักยภาพเศรษฐกิจ และช่วยบรรเทาภาระหนี้ครัวเรือน พร้อมจับตาหนี้เสียอย่างใกล้ชิด ปฏิเสธเจอแรงกดดันจากการเมืองให้ลดดอกเบี้ย ขณะที่สำนักวิจัยระบุลดดอกเบี้ยสวนทางตลาด
การลดดอกเบี้ยโดยไม่จำเป็นส่งผลดีกับรัฐบาลและภาคธุรกิจ แต่ไม่ช่วยเพิ่มสภาพคล่องรายย่อยที่ขาดความสามารถในการแข่งขัน ทีดีอาร์ไอหนุน ธปท.ปรับโครงสร้างหนี้ แนะรัฐบาลทุ่มงบเพิ่มทักษะผู้ประกอบการระดับล่าง
รายงานประชุม กนง. ส่งสัญญาณไม่รีบปรับลดอัตราดอกเบี้ย ประเมินเศรษฐกิจไทยขยายตัวเข้าสู่ระดับศักยภาพ และเงินเฟ้อขยับเข้ากรอบล่างเป้าหมายปลายปี 67 แต่กังวลหนี้เสียเริ่มขยายวงไปยังกลุ่มรายได้สูง พร้อมเฝ้าระวังกระทบเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจไทยเติบโตลดลงมาตั้งแต่ต้นปี 67 และมีแนวโน้มจะแย่ลงเรื่อย ๆ จากปัญหาเชิงโครงสร้างที่สะสมมานาน แม้นโยบายการเงินจะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ไม่มาก แต่ก็มีการคาดว่า กนง.อาจยอมลดดอกเบี้ย 1 ครั้งในปลายปี 67 เพื่อลดแรงกดดันเศรษฐกิจในประเทศ
แม้ว่ากนง.จะเผชิญกับแรงกดดันจากรัฐบาลให้ลดดอกเบี้ยนโยบาย เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่สำนักวิจัยกรุงศรีคาดการณ์ กนง.จะไม่ลดดอกเบี้ยในช่วงที่เหลือของปี 67 หลังเศรษฐกิจไทยแนวโน้มเติบโตกว่าที่คาดการณ์ไว้ และเงินเฟ้อเริ่มกลับมาเป็นบวกขยับเข้ากรอบเป้าหมาย
ความขัดแย้งระหว่างกระทรวงการคลัง กับธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) เรื่องนโยบายดอกเบี้ย เป็นเรื่องที่มีมานาน ฝ่ายหนึ่งใกล้ชิดกับการเมือง มักจะโอนอ่อนตามการเมือง แต่อีกฝ่ายห่วงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การอ้างเหตุผลก็เป็นเหตุผลเดิม ๆ ที่เคยอ้างกันมาและกล่าวโทษกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงเศรษฐกิจย่ำแย่
เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ไม่เห็นด้วยหากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จะขึ้นดอกเบี้ย เพราะจะส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวเศรษฐกิจ หรือฉุดเศรษฐกิจชะลอตัว