ThaiPBS Logo

แท็ก: กองทุนประกันสังคม

บทความ

สูตรใหม่บำนาญประกันสังคม ม.33-ม.39 เริ่ม 1 ม.ค.69

สูตรใหม่บำนาญประกันสังคม ม.33-ม.39 เริ่ม 1 ม.ค.69

บอร์ดประกันสังคม มติเอกฉันท์ปรับสูตรคำนวณบำนาญชราภาพใหม่ ม.33 ม.39 เป็นแบบ CARE คิดจากเพดานเงินเดือนเฉลี่ยตลอดอายุการทำงานจริง ทำให้ได้เงินบำนาญมากขึ้นกว่าเดิม คาดเริ่ม 1 ม.ค. 2569 พร้อมกับเพดานค่าจ้างใหม่

ทางรอดกองทุนประกันสังคม ต้องเพิ่มเงินสมทบสมาชิก

ทางรอดกองทุนประกันสังคม ต้องเพิ่มเงินสมทบสมาชิก

สมาชิกกองทุนประกันสังคมกว่า 20 ล้านคน กำลังเสี่ยงกับกองทุนไม่เพียงพอในอนาคต เพราะผู้ประกันตนสูงวัยเพิ่มขึ้น เป็นภาระกองทุน ทำให้รายรับน้อยกว่ารายจ่าย แนะเพิ่มเก็บเงินสมทบ แยกหน่วยลงทุนให้เป็นอิสระ และปรับพอร์ตลงทุนเพิ่มสินทรัพย์เสี่ยงที่หลากหลายและสัดส่วนลงทุนในต่างประเทศ

ทำอย่างไร กองทุนประกันสังคมจะมีอนาคต?

ทำอย่างไร กองทุนประกันสังคมจะมีอนาคต?

ประเด็นการใช้งบประมาณของสำนักงานประกันสังคมกำลังกลายประเด็นที่สนใจของสาธารณชน เนื่องจากปัจจุบันกองทุนประกันสังคมมีสมาชิกกว่า 20 ล้านคน และบริหารเงินกองทุนกว่า 2 ล้านล้านบาท แต่การถกเถียงดูเหมือนจะไม่อาจหาข้อยุติได้ เมื่ออีกฝ่ายหยิบยกระเบียบการเบิกจ่ายตามกฎหมาย กับ อีกฝ่ายมองในมุมของ "ความสมเหตุสมผล"

กองทุนประกันสังคมปี 67 เมื่อรายจ่ายมากกว่าผลตอบแทน

กองทุนประกันสังคมปี 67 เมื่อรายจ่ายมากกว่าผลตอบแทน

ปี 67 กองทุนประกันสังคมมีผลตอบแทน 7.19 หมื่นล้านบาท แต่รายจ่ายสิทธิประโยชน์กว่า 130,000 ล้านบาท จัดเก็บได้ 240,000 ล้านบาท เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาต้องปรับครั้งใหญ่ เพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น หากเงินนำส่งลดจากแรงงานลด แต่รายจ่ายเพิ่มจากสังคมสูงวัย

กองทุนประกันสังคม: ถึงเวลาปรับใหญ่ก่อนเผชิญวิกฤต

กองทุนประกันสังคม: ถึงเวลาปรับใหญ่ก่อนเผชิญวิกฤต

กองทุนประกันสังคมกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ เมื่อสังคมไทยกำลังก้าวสู่ "สังคมสูงอายุระดับสุดยอด" ทำให้จำเป็นต้องมีการปรับการบริหารจัดการเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่เกษียณจากการทำงาน ซึ่งทำให้กองทุนมีภาระต้องจ่ายเงินบำนาญมากขึ้นและอาจเกิดปัญหาสภาพคล่องทางการเงินจนกระทบหลักประกันคนทำงานส่วนใหญ่ของประเทศ

ความต่าง “กองทุนเงินทดแทน-กองทุนประกันสังคม”

ความต่าง “กองทุนเงินทดแทน-กองทุนประกันสังคม”

กองทุนเงินทดแทน และกองทุนประกันสังคม มักจะสร้างความสับสนให้กับแรงงานและลูกจ้าง ลองไปดูความแตกต่างและเปรียบเทียบสิทธิประโยชน์การรักษาพยาบาลและจ่ายเงินชดเชย ที่ลูกจ้างจะได้รับ โดยครอบคลุมทั้งเหตุที่เกิดจากการทำงานและไม่ได้เกิดจากการทำงาน เป็นข้อมูลที่ควรรู้ไว้สำหรับเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต