หน้าแรก
นโยบาย
นโยบายรัฐ
นโยบายภาคประชาสังคม
บทความ
ข่าวนโยบาย
คอลัมนิสต์
บทวิเคราะห์
บทบรรณาธิการ
ข่าว
Policy Forum
Visualize
เกี่ยวกับเรา
ก
+
-
เมนู
ปิดเมนู
หน้าแรก
นโยบาย
นโยบายรัฐ
นโยบายภาคประชาสังคม
บทความ
ข่าวนโยบาย
คอลัมนิสต์
บทวิเคราะห์
บทบรรณาธิการ
ข่าว
Policy Forum
Visualize
เกี่ยวกับเรา
เว็บไซต์ Thai PBS →
แท็ก: ธ.ก.ส.
นโยบายภาคการเมือง
พักหนี้เกษตรกร
เริ่มนโยบาย
วางแผน
ดำเนินงาน
ตรวจสอบ
ประเมินผล
ความสำเร็จของนโยบาย
ลูกหนี้รายย่อยที่เป็นเกษตรกร
2.69 ล้านราย คิดเป็น 70% ของลูกหนี้รายย่อยธ.ก.ส. รายละไม่เกิน 300,000 บาท มูลหนี้รวมประมาณ 280,000 ล้านบาท
เปิดเข้าร่วมโดยสมัครใจ
สมัครใจเข้าร่วมโครงการ โดยมีการประเมินทุกปี และมีการฝึกอบรมเพิ่มทักษะหารายได้เพิ่ม
บทความ
พักหนี้เกษตรกรระยะที่ 1 ผู้เข้าร่วม 1.85 ล้านคน
ธ.ก.ส. สรุปนโยบายพักหนี้เกษตรกรระยะแรก มีเกษตรกรขอเข้าร่วม 1.85 ล้านราย จากเกษตรกรผู้มีสิทธิ 2.1 ล้านคน รวมมูลหนี้ 2.6 แสนล้านบาท
เคาะเพิ่มเงื่อนไขชะลอฟ้อง-บังคับคดี-ขายทอดทรัพย์สิน ลูกหนี้เกษตรกร
ครม.เห็นชอบแก้ไขมติ ครม.ในอดีตเมื่อ 16 ม.ค. 2550 เรื่องแก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกร โดยเพิ่มเงื่อนไขการชะลอฟ้องร้อง บังคับคดี และขายทอดทรัพย์สินของลูกหนี้เกษตรกร เพื่อไม่ให้กระทบฐานะทางการเงิน ธ.ก.ส.
2 เดือนรัฐบาล อุดหนุน-พยุงราคาพืชผลกว่า 6.7 หมื่นล้าน
นโยบายอุดหนุนภาคเกษตร เป็นนโยบายสำคัญของทุกรัฐบาล แม้ว่าหลายรัฐบาลพยายามจะยกเลิกด้วยการสนับสนุนให้ภาคเกษตรไทยมีการพัฒนาให้ทันสมัยมากขึ้น แต่ก็ยังไม่สามารถทำได้ ในขณะที่มักจะเป็นนโยบายที่ทุกรัฐบาลจะประกาศทันทีหลังเข้าบริหารประเทศ เช่นเดียวกับรัฐบาลนี้
หนี้สิน-ที่ดินทำกิน-ราคาพืชผล นโยบาย“ไม่เคยเปลี่ยน”
รัฐบาลนายเศรษฐา ทวีสิน แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2566 มีทั้งกรอบนโยบายระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว ที่มุ่งเน้นกระตุ้นเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายสำคัญ และนโยบายภาคเกษตร นับว่าเป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญของรัฐบาล เช่นเดียวกับรัฐบาลชุดก่อน ๆ
ผลวิจัยชี้ชัดนโยบายพักหนี้ “ยิ่งพัก หนี้ยิ่งเพิ่ม”
“มาตรการพักหนี้เกษตรกร” นับว่าเป็นมาตรการ”การเมือง” ที่ทุกรัฐบาลต้องออกมาเพื่อช่วยเหลือหนี้สินภาคเกษตร แต่ที่ผ่านมามักจะไม่มีการประเมินผลว่าประสบความสำเร็จหรือไม่ และแทบจะไม่มีใครท้วงติงว่าเป็นมาตรการสำเร็จ หรือ ล้มเหลว