บทความ
ประชามติแบบสองชั้น: เมื่อปิศาจอยู่ในรายละเอียด
การทำประชามติเป็นเครื่องมือในการการตัดสินใจทางการเมืองที่นับว่าใหม่มากสำหรับประเทศไทย โดยเพิ่งมีการนำมาใช้จริงครั้งแรกในการเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550
เปิดกลไกให้นโยบายดี ๆ ได้ไปต่อ แม้การเมืองเปลี่ยน
ช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล หลายนโยบายที่มีความหวังกลับ ถูกแปรรูป เปลี่ยนร่าง หรือหายไป สะท้อนถึงปัญหาบริบทสังคมไทย “การเมืองผูกกับนโยบาย” นำมาสู่ข้อเรียกร้องให้เกิด “นโยบายนำการเมือง” ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย โดยรัฐต้องมีพันธะรับผิดชอบ ร่วมมือพัฒนาระบบติดตามนโยบายให้มีประสิทธิภาพ
ผู้นำที่ไม่เป็นทางการ พลังมหาศาลที่ซ่อนเร้นอยู่ในสังคมไทย
ในช่วงที่สังคมไทยกำลังเผชิญกับวิกฤติผู้นำ เพื่อบริการจัดการประเทศ แต่เรามักจะมองไปที่บรรดาผู้นำที่เป็น "ทางการ" ผ่านกลไกอำนาจ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้เสนอแนะทางออกสำหรับสังคมไทย ให้มองไปที่ "ผู้นำที่ไม่เป็นทางการ" ซึ่งซ่อนอยู่ทั่วไปในสังคมไทยและเป็นพลังสร้างการเปลี่ยนแปลงได้
ประชาธิปไตยไทยยังเป็นเด็กทารก "ไม่เอาไหนทั้งสิ้น"
"กว่า 92 ปีเท่าอายุผม เท่าอายุประชาธิปไตยของเมืองไทย ผมเติบโตมาและอาจจะถึงวันตายในอีกไม่ช้านี้ แต่ประชาธิปไตยเมืองไทยก็ยังเป็นเด็กทารกอยู่ ไม่เอาไหนทั้งสิ้น"
สภาผ่านร่างกฎหมายประชามติ เปิดทางร่างรธน.ใหม่
สภาผู้แทนราษฎร มีมติท่วมท้นผ่านร่างกฎหมายประชามติ พร้อมส่งให้วุฒิสภาพิจารณา โดยยึดหลักเพิ่มความคล่องตัว การมีส่วนร่วมของประชาชน และความเป็นธรรม นับถอยหลังร่างรัฐธรรมนูญ
ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ แก้กฎหมาย ทำประชามติ 3 ครั้ง
รัฐบาลเดินหน้าจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ตามผลการศึกษาของคณะกรรมการฯ โดยมีการทำประชามติ 3 ครั้ง และให้มีการแก้ไขกฎหมายประชามติบางมาตรา
จับตาร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ความขัดแย้งรอบใหม่ปะทุ
การเคลื่อนไหวแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อให้เป็นประชาธิปไตยเกิดขึ้นเป็นระยะ พร้อม ๆ กับการชูนโยบาย “ปฏิรูป” ในการบริหารงานภาครัฐด้านต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นหลังจากการรัฐประหารโค่นรัฐบาลจากพลเรือนและประกาศใช้รัฐธรรมนญฉบับใหม่