
ความท้าทาย”รัฐบาลดิจิทัล” ต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
รัฐบาลไทยมีนโยบายเปลี่ยนไปเป็นสู่รัฐบาลดิจิทัลเต็มรูปแบบในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า แต่ปัจจุบันการทำงานและบริการหน่วยงานรัฐยังดูสวนทางกับนโยบายนี้ เพราะยังคงเห็นใช้กระดาษในการทำธุรกรรม ดังนั้นจะมีความเป็นไปได้มากแค่ไหนที่ไทยจะเป็นรัฐบาลดิจิทัลในอนาคตอันใกล้

น้ำท่วมเหนือรุนแรง จี้รัฐทบทวนแผนบริหารจัดการน้ำ
จากสถานการณ์น้ำท่วมในปี 2567 โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ สะท้อนมให้เห็นว่ายังมีปัญหาด้านการบริหารจัดการน้ำของประเทศ ดังจะเห็นได้จากความรุนแรงและความเสียหายในวงกว้าง ด้านหอการค้าฯเรียกร้องให้รัฐบาลทบทวนแผนการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ เพื่อรับมือความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ประเทศไทยชูบทบาท “สะพานเชื่อม-มิตรกับทุกประเทศ”
ไทยแสดงท่าทีในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ชูบทบาท "เป็นสะพานเชื่อมและเป็นมิตรกับทุกประเทศ" หวังบรรลุเป้าหมาย SDGs หากได้เป็นสมาชิก OECD และ กลุ่ม BRICs

กกพ.เร่งรับซื้อไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน 3.7 พันเมกะวัตต์
กกพ.เปิดรับซื้อไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนรอบสอง 3,668.50 เมกะวัตต์ ภายในเดือน ก.ย.นี้ โดยจะให้สิทธิกับผู้ผลิตไฟฟ้าที่ยื่นขอรอบแรกไม่ผ่าน คาดรู้ผลสิ้นปี 2567

นโยบายที่ดี ต้องมีมิติจิตวิญญาณความเป็นมนุษย์
โดยปกติ การออกแบบนโยบายแต่ละที มักถูกคิดคำนึงถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศเป็นหลัก หลายนโยบายกลายเป็นแนวคิดที่แข็งกระด้าง เน้นการพัฒนาและตัวเลขเติบโตทางสถิติ แต่กลับมองข้ามความต้องการที่แท้จริงของประชาชนที่มีหัวจิตหัวใจในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง

ส่องมาตรการต่างประเทศ งัดกลยุทธ์สู้สินค้าจีนท่วมโลก
ผู้ประกอบการไทยกำลังเจอปัญหาสินค้าจีนราคาถูกที่เข้ามาครองตลาดอย่างหนัก จนแทบจะแข่งขันไม่ได้ และอาจสร้างผลเสียต่อเศรษฐกิจประเทศในอนาคต โดยในต่างประเทศก็ได้รับผลกระทบนี้เช่นกัน และก็มีมาตรการต่าง ๆ ออกมารับมือสินค้าจีน เพื่อปกป้องผู้ประกอบการในประเทศของตนเอง

ครม.ไฟเขียวเงินอุดหนุน ค้างจ่าย EV 3.0 มุ่งสู่ฮับในภูมิภาค
ครม.อนุมัติงบประมาณ 7,125.63 ล้านบาท ในมาตรการ EV3 ที่ยังคงค้างจ่ายก้อนสุดท้าย เพื่อสนับสนุนการซื้อรถยนต์ไฟฟ้าราคาไม่เกิน 2 ล้านบาท และรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าราคาไม่เกิน 150,000 ล้านบาท หวังผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในภูมิภาค

รัฐบาลพักหนี้เกษตรกร ระยะ 2-3 ถึงครบวาระปี 70
รัฐบาลอนุมัติมาตรการพักหนี้เกษตรกร ระยะที่ 2-3 ทำให้โครงการพักหนี้เกษตรกรผ่านธ.ก.ส. จะมีระยะเวลายาวนานถึงปลายปี 2570 ซึ่งเป็นช่วงที่ครบวาระรัฐบาล หากอยู่จนครบวาระ โดยใช้งบประมาณตั้งแต่โครงการระยะแรกกว่า 3 หมื่นล้านบาท

ให้อำนาจท้องถิ่นเสนอกฎหมาย: กรณีศึกษาจากเชียงคาน
ชาวตำบลเชียงคาน ร่วมกันเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น ตาม พ.ร.บ.การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565 เพื่ออนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาวิถีวัฒนธรรมชุมชน หวังเป็นวัคซีนทางสังคม ในการสร้างกฎกติกาที่ชัดเจน บังคับใช้ร่วมกันอย่างยั่งยืน แก้ปัญหาความขัดแย้งจากการพัฒนา