ทศพร โชคชัยผล
มาตรการอุ้มลูกหนี้รายย่อย สร้างภาระมากกว่าตัวเงิน
มาตรการ "ลดภาระหนี้ของลูกค้ารายย่อยและธุรกิจขนาดเล็ก" หรือ มาตรการกึ่งพักหนี้ สำหรับสินเชื่อบ้าน-รถยนต์-เอสเอ็มอี กำลังเพิ่มความเสี่ยงให้กับประเทศ ไม่ใช่ความเสี่ยงเรื่องเม็ดเงินที่ต้องเข้าไปใช้ในมาตรการ แต่เป็นความเสี่ยงจากการสร้างวัฒนธรรมเบี้ยวหนี้ หรือ Moral Hazard ที่จะส่งผลกระทบระยะยาว
เมื่อการเมือง “เจ็ตแล็ก” เรื่องนโยบายดอกเบี้ย
คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติลดดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25% จาก 2.50% เหลือ 2.25% มีผลทันทีในการประชุม 16 ต.ค. 2567 แต่ธนาคารพาณิชย์ยังไม่มีการปรับลดดอกเบี้ยตาม มีเพียงธนาคารออมสินและธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ที่ปรับลดลง 0.25% แต่มีผล 1 พ.ย. 2567
ทำไมรัฐบาลเพื่อไทย ไม่มีนโยบายแก้คอร์รัปชัน
คำแถลงนโยบายรัฐบาลของนาวสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีความคล้ายกับของนายเศรษฐา ทวีสิน ในหลาย ๆ นโยบาย และที่คล้ายกันอย่างน่าประหลาดใจคือ ทั้งสองรัฐบาลไม่มีการระบุเกี่ยวกับนโยบายการปราบปรามการทุจริต ราวกับว่าสังคมไทยไม่มีปัญหาการทุจริตคอร์รัปชันและไม่ใช่เรื่องของรัฐบาล
โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น เหยื่อแห่งความล้มเหลว
โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น กลับมาอีกครั้งตามวัฏจักรน้ำท่วม หลังจากฝ่ายการเมืองถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาลใหม่ว่าช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบล่าช้า โครงการนี้กำลังกลายเป็น "เหยื่อแห่งความล้มเหลว"ของการบริหารจัดการน้ำอีกครั้ง
เศรษฐกิจไทยชะลอ ลุ้นกนง.ลดดอกเบี้ยปลายปี 67
เศรษฐกิจไทยเติบโตลดลงมาตั้งแต่ต้นปี 67 และมีแนวโน้มจะแย่ลงเรื่อย ๆ จากปัญหาเชิงโครงสร้างที่สะสมมานาน แม้นโยบายการเงินจะช่วยแก้ปัญหานี้ได้ไม่มาก แต่ก็มีการคาดว่า กนง.อาจยอมลดดอกเบี้ย 1 ครั้งในปลายปี 67 เพื่อลดแรงกดดันเศรษฐกิจในประเทศ
จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น
การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง
“เผา-บุกรุก”ป่า ผลพวงการพัฒนามุ่งแต่เม็ดเงิน
การบุกรุกและเผาป่า นับวันจะรุนแรงขึ้น โดยที่รัฐบาลไม่สามารถจัดการอะไรได้ นอกจากแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่ต้นตอการเผ่าป่า ทั้งเพื่อบุกรุกพัฒนาการท่องเที่ยวและปลูกข้าวโพดเพื่อส่งอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ล้วนแต่มาจากนโยบายของรัฐบาลเองที่มุ่งไปที่ "เม็ดเงิน" แต่ละเลยสังคมและคุณภาพชีวิตของคนไทย
กระตุ้นอสังหาฯ-จี้ลดดอกเบี้ย เมื่อการเมืองวนลูปเดิม
คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติออกมาตรการกระตุ้นอสังหาฯ โดยอ้างว่าเพื่อสนับสนุนประชาชนมีที่อยู่อาศัย และเตรียมรองรับการกลายเป็นเมืองอุตสาหกรรมระดับโลก โดยจะผ่อนปรนเงื่อนไขให้ต่างชาติ แต่ไม่ใช่มาตรการใหม่ ล้วนเป็นมาตรการเดิม ๆ ที่เคยดำเนินการมาแล้วในยุคก่อน และเคยถูกวิจารณ์ว่า "ผลประโยชน์ทับซ้อน"
ศึกศักดิ์ศรี “คลัง-แบงก์ชาติ” ว่าด้วยเรื่องดอกเบี้ย
ความขัดแย้งระหว่างกระทรวงการคลัง กับธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) เรื่องนโยบายดอกเบี้ย เป็นเรื่องที่มีมานาน ฝ่ายหนึ่งใกล้ชิดกับการเมือง มักจะโอนอ่อนตามการเมือง แต่อีกฝ่ายห่วงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การอ้างเหตุผลก็เป็นเหตุผลเดิม ๆ ที่เคยอ้างกันมาและกล่าวโทษกันไปมา โดยเฉพาะในช่วงเศรษฐกิจย่ำแย่