
เหลื่อมล้ำทางภัยพิบัติเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องรอ “อนาฅต”
ความหลื่อมล้ำในสังคมไทยเกิดขึ้นในหลายมิติ แม้กระทั่งการเผชิญหน้าหรือการจัดการภัยพิบัติ ที่หลายครั้งเกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่เท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่โดยเฉพาะพื้นที่เศรษฐกิจที่ถูกปกป้องคุ้มครองมากกว่าพื้นที่การเกษตร รวมไปถึงในแง่งบประมาณ และองค์ความรู้ในการจัดการภัยพิบัติที่ยังมีความแตกต่าง

โลกรวน เพิ่มความรุนแรงภัยพิบัติ : 4 เรื่องเร่งด่วนเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง
ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายครั้งใหญ่จากภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงและความถี่มากขึ้น โดยเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งหลายภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทั่วประเทศได้สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมหาศาล ทั้งยังเป็นคำเตือนให้ประเทศไทยเตรียมรับมือกับภัยธรรมชาติที่ไม่อาจปฏิเสธได้ในอนาคต

ย้ำสัญญา ลดคาร์บอนไทย กับทิศทางต่อไปในปี 2025
ประเทศไทยประกาศเป้าหมายชัดเจนในการประชุมระดับสูงของ COP ครั้งที่ 29 ณ เมืองบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน โดยมุ่งตามเป้า NDC สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี 2050 ท่ามกลางการจับตาว่าจะเป็นไปตามเป้าหมายได้มากน้อยแค่ไหน และแตกต่างจากประเทศอื่น ๆ อย่างไรบ้าง

สมุดปกแดง ลายแทงสู้ภัยพิบัติในภาวะโลกเดือด
ภัยพิบัติมีแนวโน้มเกิดมากขึ้นทั่วโลก สร้างความเสียหายรุนแรงต่อเนื่อง นำมาสู่การระดมสมองเตรียมพร้อมรับมือเพื่อป้องกันและลดความสูญเสีย ด้วยกลไกทางกฎหมาย การบริหารจัดการ และนวัตกรรมที่ปรับเปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิกาศในยุคโลกเดือด

ลดปล่อยก๊าซแบบสมัครใจ ต้นตอตลาดคาร์บอนเครดิตซบ
ไทยตั้งเป้าลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก 30-40% ภายในปี 2573 แต่ตลาดซื้อขายคาร์บอนเครดิตที่จูงใจทุกภาคส่วนลดปล่อยก๊าซฯ กลับมีปริมาณซื้อขายลดลงทุกปี เนื่องจากการลดก๊าซฯของไทยยังเป็นแบบภาคสมัครใจ ทำให้คาร์บอนเครดิตขาดแรงจูงใจจากผู้ซื้อ

ไทยตามหลังหรือไม่? เปรียบเทียบระบบป้องกันภัยพิบัติที่รอบด้านจากรอบโลก
ระบบป้องกันภัยพิบัติที่ใช้กันทั่วโลกมีความแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละประเทศ ซึ่งมีจุดแข็ง จุดอ่อนแตกต่างกันไป การเรียนรู้จากประสบการณ์ของประเทศจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเปรียบเทียบและนำมาปรับใช้ในสถานการณ์ที่เหมาะสม

สทนช.เปิดแผนป้องกัน หวังแก้น้ำท่วมใต้ซ้ำซาก
สทนช.เผยโครงการป้องกันน้ำท่วมในพื้นที่ภาคใต้ ทั้งการระบบป้องกันและขยายพื้นที่กักเก็บ เพื่อลดผลกระทบ แต่จากสถานการณ์น้ำท่วมในปีนี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาจเป็นเรื่องท้าทายอีกครั้งว่าโครงการดังกล่าวจะเพียงพอหรือไม่

ไทยต้องลด 30-40% ตามมาตรการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
เปิดแผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระแจกของไทย ตั้งเป้าลดปล่อยก๊าซ 30-40% ภายในปี 2573 พุ่งเป้า 5 สาขาหลัก ที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง คือ สาขาพลังงาน สาขาคมนาคมขนส่ง สาขาการจัดการของเสียชุมชนและน้ำเสียอุตสาหกรรม กระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ และ สาขาเกษตร

3 เหตุผลไทยต้องเร่งปรับตัว รับโลกร้อน “ให้ทันการณ์”
3 เหตุผลว่าทำไมไทยต้องเร่งปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ธุรกิจไทยปรับยาก ไทยเปราะบางติด 1 ใน 10 และเอสเอ็มอีเป็นรากฐานสำคัญเศรษฐกิจไม่พร้อมปรับเปลี่ยน แนะทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันปรับตัว ไม่อาจพึ่งพาส่วนใดส่วนหนึ่งได้ เป็นเรื่องใหญ่เกินกำลังที่จะทำเพียงลำพัง