ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดสำคัญในการบริหารจัดการที่ต้องเน้นความโปร่งใส ความเป็นธรรม และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและลดการทุจริต แต่ในประเทศไทยการนำนโยบายธรรมาภิบาลไปใช้กลับถูกจำกัดให้อยู่ในกรอบของระบบราชการและข้าราชการเป็นศูนย์กลางของอำนาจ
การนำหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในแต่ละภาคส่วน นับเป็นอีกกลไกสำคัญในการเพื่อลดปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน การที่จะทำให้เกิดผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมจำเป็นต้อง ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการขับเคลื่อนงานด้านธรรมาภิบาลและต่อต้านคอร์รัปชันให้เกิดขึ้น
วงจรคอร์รัปชัน ไม่ได้เกิดขึ้นเพียงในภาครัฐแต่เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะภาคเอกชนซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกมิติตั้งแต่สถานการณ์ ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขคอร์รัปชันจึงยึดโยงกับเอกชนและส่งต่อผลกระทบไปยังระบบเศรษฐกิจของสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
“สามก๊ก” พงศาวดารชื่อดัง อยู่คู่สังคมไทยมานาน ที่มีคนกล่าวถึงทุกยุคทุกสมัย และตีความต่าง ๆ กัน กล่าวขานเรื่องที่เต็มไปด้วยเรื่องกลยุทธ์เล่เหลี่ยมต่าง ๆ ในการศึกสงคราม และช่วงชิงอำนาจทางการเมือง แต่วันนี่้ มีการอ่าน "สามก๊ก" อีกมุม โดยเสาะหา "หลักธรรมาภิบาล" ในยุคที่สังคมไทยมีปัญหารุนแรง
รัฐบาลยังเผชิญกับการท้าทายหลายด้าน ในเรื่องการปฏิรูปกฎระเบียบในประเทศในหลายประเด็น หลังจากเดินหน้ายื่นหนังสือแสดงเจตจำนงขอเข้าเป็นสมาชิก OECD เมื่อเข้าสู่ความร่วมมือในระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2566 – 2568