Policy Watch
เด็กวิ่งหนีควันเผาอ้อย ตอกย้ำทำไมต้องมี พ.ร.บ.อากาศสะอาด
จากคลิปในโซเชียลมีเดียที่ปรากฏภาพเด็กนักเรียนนับร้อยชีวิตกำลังแตกตื่นวิ่งหนีหนีฝุ่นควันจากการเผาไร่อ้อยที่ลอยเข้าไปในโรงเรียน ในพื้นที่ ต.โคกตูม อ.เมือง จ.ลพบุรี เมื่อวันที่ 21 ก.พ. ที่ผ่านมา นำมาสู่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ถึงมาตรการควบคุมการเผาที่ไม่ได้ผล และยิ่งตอกย้ำว่าทำไมต้องมี พ.ร.บ.อากาศสะอาด
เศรษฐศาสตร์เรื่องการแจกเงินดิจิทัล
ผศ.ดร.ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอบทความ "เศรษฐศาสตร์เรื่องการแจกเงินดิจิทัล" ย้ำถึงจุดยืนคัดค้านการแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาทอีกครั้ง หลังจากที่ก่อนหน้านั้น เป็นหนึ่งในนักเศรษฐศาสตร์ลงชื่อคัดค้านนโยบายนี้ ชี้ให้เห็นหลักทางเศรษฐศาสตร์ว่ามองอย่างไรก็ไม่คุ้มค่า
ครม.รับพิจารณาร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมือง
ครม.รับพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ที่นายศักดิ์ดา แสนมี่ กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 12,888 คน เป็นผู้เสนอ กำหนดเวลาในการพิจารณา 60 วัน
กทม.จมฝุ่น PM2.5 อากาศเลวร้ายทุกปี
กรุงเทพมหานคร ยังคงเผชิญมลพิษทางอากาศมาเป็นเวลานาน แม้การแก้ปัญหาฝุ่นละอองจะเป็นวาระแห่งชาติของรัฐบาล ผลสำรวจในปี 2566 กรุงเทพฯ มีวันสภาพอากาศดีลดลงต่อเนื่องจนทุบสถิติใหม่ และยังส่งผลกระทบสุขภาพมากขึ้นทุกปี
“อาชีวะไทย” แรงงานทักษะฝีมือดี เนื้อหอมในตลาดโลก
นักเรียนอาชีวะเป็นภาพลักษณ์ของความรุนแรงในสังคมไทยมานานหลายปี ซึ่งมีอิทธิพลอย่างมากต่อการตัดสินใจของเด็กในยุคปัจจุบันที่เลือกไปเรียนสายสามัญแทนสายอาชีวศึกษา ทำให้ไทยขาดแคลนแรงงงานทักษะมีฝีมือในอุตสาหกรรมสำคัญ และในขณะเดียวกันแรงงานดังกล่าวก็เป็นที่ต้องการสูงในต่างประเทศ
ความท้าทายแก้ฝุ่นควัน เมื่อรัฐออกมาตรการแต่ไร้แผน
ปัญหาฝุ่นควัน PM2.5 กลับมาสร้างปัญหาเป็นระยะ แม้รัฐบาลก่อนกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ปี 2562 แต่ดูเหมือนจะดีขึ้นในระยะแรก แต่เมื่อสิ้นแผนฝุ่นควันก็กลับมาหนักขึ้น ในขณะที่รัฐบาลปัจจุบันไม่มีแผนที่ชัด มีเพียงแต่มาตรการจากครม.เป็นข้อสั่งการ
โลกร้อนทุบสถิติ เกิน 1.5 องศาก่อนยุคอุตฯนาน 12 เดือน
โลกร้อนทุบสถิติ อุณหภูมิพื้นผิวโลกในเดือนม.ค. 2567 เป็นเดือนที่ร้อนที่สุดตั้งแต่มีการบันทึก สูงกว่ายุคก่อนอุตสาหกรรม 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน กรีนพีซเรียกร้องลดปล่อยแก๊สเรือนกระจากทันที โดยเฉพาะบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ของโลก
“แลนด์บริดจ์” เมกะโปรเจกต์ขาจร ไร้เงาในแผนระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
แลนด์บริดจ์ เมกะโปรเจกต์ที่อยู่ ๆ รัฐบาลเพื่อไทยก็ผลักดันขึ้นมา โหมกันหนัก โดยอ้างเหตุผลการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่โครงกานี้มีศึกษามาก่อนและได้ข้อสรุปมานานว่าไม่คุ้มค่า โดยล่าสุดสศช. ออกรายงานประจำปี ไม่ปรากฏโครงการนี้อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ
เอฟทีเอ “ไทย-ศรีลังกา” ประเทศที่ 2 ในเอเซียใต้
ความตกลงการค้าเสรี (FTA) ไทย-ศรีลังกา นับเป็นฉบับแรกในรัฐบาลเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรมว.คลัง นับว่าเป็นความคืบหน้าในนโยบายของรัฐบาลมากที่สุด ตามนโยบาย "การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก"