Policy Watch
ไทย-กัมพูชา ยกระดับความสัมพันธ์ “หุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์”
ไทย-กัมพูชา ลงนามและแลกเปลี่ยนเอ็มโอยู 5 ฉบับ ยกระดับความสัมพันธ์สู่การเป็น “หุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์” พร้อมความร่วมมือพัฒนาพื้นที่ชายแดน ทั้งด้านพลังงานและท่องเที่ยว
สัญญาณเตือนยุคโลกเดือด “ไข้เลือดออก-มาลาเรีย”ระบาดหนัก
โลกร้อน หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กำลังส่งผลกระทบมากกว่าเรื่องอากาศร้อนจัดและการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล แต่กำลังคุกคามถึงสุขภาพของคนไทย เมื่อพบว่าในปีที่ผ่านมา ไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ระบาดหนักในเอเชีย รวมถึงไทย
ร่างกฎกระทรวงฯ เปิดทาง”แบ่ง-โอน”ที่ดินส.ป.ก.
การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2567 มีมติรับทราบร่างกฎกระทรวงการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินของผู้ได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. .... เพื่อช่วยเหลือชาวเกษตรกรให้สามารถแบ่งแยกหรือโอนที่ดินเพื่อชำระหนี้ได้
ร่างพ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญแห่งชาติ ฉบับภาคประชาชน
เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการ เสนอ (ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... บนหลักการ "ถ้วนหน้าครอบคลุมทุกคน เพียงพอต่อการดำรงชีพอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยอิงตามเส้นความยากจนที่ปรับทุก 3 ปี และยั่งยืน โดยมีกฎหมายบำนาญแห่งชาติมารองรับ”
วิกฤติกำลังแรงงานไทย อีก 30 ปีลดเหลือครึ่งเดียว
สังคมสูงวัยกำลังส่งผลกระทบมากขึ้นเรื่อย คาดว่าหลังจากเข้าสู่สังคมสูงวัยขั้นสุดยอดในปี 2572 สังคมไทยจะมีกำลังแรงงานราว 58% ของประชากรทั้งประเทศ ก่อนจะลดลงเหลือ 50% ในปี 2593 หรืออีกราว 30 ปี
นโยบายการเงิน ภายใต้ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ
อะไรคือนโยบายการเงินที่เหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องดอกเบี้ยควรลดหรือไม่? เป็นข้อถกเถียงในช่วง 1-2 เดือนที่ผ่านมา เมื่อรัฐบาลเผชิญกับปัญหาเรื่อง "นโยบายดิจิทัลวอลเล็ต" และเรียกร้องให้แบงก์ชาติลดดอกเบี้ย ซึ่ง ดร.สมชัย จิตสุชน อดีตกรรมการ กนง. มีคำตอบ
แก้ไข พ.ร.ก.การประมง 2558 หวังฟื้นฟูอุตสาหกรรม
การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2567 เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 พ.ศ. .... ตามนโยบายของรัฐบาล ในการฟื้นฟูการประมงและอุตสาหกรรมการประมง
เศรษฐกิจไทย “ไม่วิกฤติ” ฟื้นตัวหลังโควิด-19 แต่โตต่ำ ตามหลังเพื่อน
ธปท.ย้ำเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวจากวิกฤติโควิด 19 แล้ว แต่ยังโตต่ำและฟื้นตัวช้ากว่าประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งมิติการขยายตัวและการส่งออกสินค้า ซึ่งเป็นผลจากทั้งปัจจัยเชิงวัฏจักรระยะสั้นและเชิงโครงสร้าง แนะเร่งปรับกติกาภาครัฐ ส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรม
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ไทยร่วง อับดับที่ 108 โลก
ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ประจำปี 2566 ประเทศไทย ได้ 35 คะแนน จัดอยู่ในอันดับที่ 108 ของโลก และอยู่อันดับ 4 ในอาเซียน แนะไทยต้องปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมให้มีความเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซง