
ชญาดา จิรกิตติถาวร

เดือนแรกทรัมป์ 2.0 กระทบอะไรกับไทย ทั้ง”ทางตรง-ทางอ้อม”
เดือนแรกของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ เริ่มเดินหน้านโยบายที่ประกาศไว้ โดยเฉพาะการขึ้นภาษีกับประเทศที่สหรัฐฯเห็นว่าเอาเปรียบตนเอง โดยเฉพาะประเทศยักษ์ในเอเซียอย่างจีน ที่สหรัฐฯประกาศขึ้นภาษี 10% รวมทั้งมีการปรับขึ้นภาษีเหล็กและอะลูมีเนียม ซึ่งจากมาตรการทางภาษีดังกล่าวกระทบต่อไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม

วีซ่าฟรี กระตุ้นการท่องเที่ยวได้แค่ไหน
นโยบายวีซ่าฟรีเป็นอีกความหวังสำคัญที่จะช่วยกระชับความสัมพันธ์ รวมทั้งช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติให้กลับมาคึกคักช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่กำลังซบเซา โดยคาดการณ์ว่าปี 2568 รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติจะสูงถึง 2.8 ล้านล้านบาท

การุณยฆาต กับ หมอพาลิ
ละครซีรีส์การุณยฆาต ออกอากาศทางช่องวัน 31 ได้รับความสนใจจากสังคมไทยเป็นอย่างดี ละครนี้ เกิดจากนิยาย เรื่องการุณยฆาต ประพันธ์โดยนักเขียนซึ่งเป็นแพทย์ผู้ทำงานด้านเวชศาสตร์ประคับประคอง หรือเรียกกันว่า “หมอพาลิ” ผู้ให้การดูแล Palliative care

EV ทุบอุตสาหกรรมยานยนต์ คนไทยเสี่ยงตกงานนับแสน
แรงงานไทยกำลังเสี่ยงตกงานมากขึ้น จากความนิยมรถยนต์ไฟฟ้าเข้ามาแทนที่รถยนต์เติมน้ำมันแบบดั้งเดิม ทำให้กระทบอุตสาหกรรมรถยนต์ทั้งซับพลายเชน ทีดีอาร์ไอแนะบังคับใช้กฎหมายต่อทะเบียนรถเก่า 25 ล้านคันสร้างงานให้อู่ซ่อมรถ หนุนผู้ผลิตรถยนต์ไฮบริด และเพิ่มทักษะแรงงาน

ตีกรอบสถาบันการเงินปล่อยกู้ ต้องเป็นธรรม-รับผิดชอบลูกหนี้
ธปท.ปรับปรุงหลักเกณฑ์การให้สินเชื่ออย่างรับผิดชอบและเป็นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพช่วยเหลือลูกหนี้ กระตุกพฤติกรรมมีวินัยทางการเงิน มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนให้กับสถาบันการเงินและธุรกิตสินเชื่อ ต้องรับผิดชอบต่อการปล่อยสินเชื่อ

สั่งห้ามเผา แก้ที่ผิว? ลดฝุ่นจิ๋วด้วยชีวิตจิ๋ว “จุลินทรีย์”
เกษตรกรกำลังถูกมองว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทั้งที่ความจริงสาเหตุของการเผาทางการเกษตรส่วนหนึ่งเป็นเพราะข้อจำกัดจนไม่มีทางเลือก ภาคประชาสังคม ภาครัฐ และเกษตรกรกำลังหันมาสนใจหาทางออกมากขึ้น หนึ่งในแนวทางนั้นคือ "จุลินทรีย์ย่อยสลายตอซังข้าว"

เปิดไทม์ไลน์เขียน รธน. ใหม่ เทียบแก้ ม.256 ฉบับ พท. – ปชน.
ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับของพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาชน มีจุดประสงค์เพื่อแก้ ม.256 และเพิ่มหมวด 15/1 ทำให้สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญในอนาคตได้ง่ายขึ้น แต่ยังมีรายละเอียดที่แตกต่างกันในหลายประเด็น

ประชามติรัฐธรรมนูญในโลกนี้ ต้องทำหลายครั้งหรือไม่?
กว่า 4 ปี หลังจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 การจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ยังคงเป็นประเด็นถกเถียงโดยเฉพาะจำนวนครั้งที่ต้องทำประชามติ เมื่อฝ่ายหนึ่งเห็นว่าควรมีประชามติ 2 ครั้งก็เพียงพอแล้ว ขณะที่อีกฝ่ายมองว่าควรทำประชามติ 3 ครั้งเพื่อความปลอดภัย

ดัชนีรับรู้ทุจริตปี 67 ไทยได้ 34 คะแนน ต่ำสุดรอบ 12 ปี
ผลการสำรวจดัชนีรับรู้การทุจริต วัดความโปร่งใสของภาครัฐทั่วโลก ประจำปี 2567 ไทยได้ 34 คะแนน รั้งอันดับ 5 ของอาเซียน และอันดับ 107 ของโลก ถือเป็นคะแนนต่ำสุดในรอบ 12 ปี