ThaiPBS Logo
Policy Watch

Policy Watch

พื้นฐานเศรษฐกิจย่ำแย่กว่าเดิม เสี่ยงสูง-ฉุดเงินบาทอ่อน

พื้นฐานเศรษฐกิจย่ำแย่กว่าเดิม เสี่ยงสูง-ฉุดเงินบาทอ่อน

ปัจจัยพื้นฐานในประเทศที่เปราะบางกว่าในอดีต เตรียมรับความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนสูง ทั้งการเมืองในประเทศ เศรษฐกิจโลกและความขัดแย้งภูมิรัฐศาสตร์ ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทถึงสิ้นปี 2567 ผันผวนมากขึ้น หลังครึ่งปีแรกอ่อนค่าสุดในเอเชีย

“เงื่อนไข-ความเสี่ยง” ต้องรู้ ก่อนลงทุน Thai ESG

“เงื่อนไข-ความเสี่ยง” ต้องรู้ ก่อนลงทุน Thai ESG

ตลาดทุนไทยอยู่ในภาวะซบเซา หลังนักลงทุนต่างชาติทยอยขายหุ้นและตราสารหนี้ไทยรวมครึ่งปีแรก 2567 ทะลุ 1.8 แสนล้านบาท ทำให้ล่าสุดรัฐบาลปรับเงื่อนไขใหม่ของกองทุน Thai ESG ลดเวลาถือครองสั้นลง และเพิ่มวงเงินลดหย่อนภาษี เพื่อดึงดูดให้นักลงทุนนำเงินมาลงทุนในตลาดทุนไทยมากยิ่งขึ้น

เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

เอลนีโญฉุดผลผลิตเกษตร สัญญาณเตือนจากโลกร้อน

สัญญาณเตือนกระทบจากเอลนีโญ ผลผลิตภาคเกษตรที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลดลงถ้วนหน้า ทั้งสาขาพืชและประมง ส่งผลให้จีดีพีไตรมาส 2 ปี 2567 ติดลบ แต่คาดว่าครึ่งปีหลังดีขึ้นจากเอลนีโญสิ้นสุดลง

ซอฟต์พาวเวอร์ “ต้องใช้เวลา” ส่องต้นแบบจากต่างแดน

ซอฟต์พาวเวอร์ “ต้องใช้เวลา” ส่องต้นแบบจากต่างแดน

ซอฟต์พาวเวอร์ ต้องใช้เวลายาวนานหลายสิบปีกว่าจะประสบความสำเร็จ ผ่านนโยบายและยุทธศาสตร์ระยะยาว ไทยควรเรียนรู้แนวคิดและเคล็ดลับจากประเทศต้นแบบอย่าง สหรัฐฯ เกาหลี และญี่ปุ่น เพื่อย่นเวลาสร้างซอฟต์พาวเวอร์ให้สำเร็จเร็วขึ้น

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

จริงหรือ? ทส.รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมดีขึ้น

การรับรู้ของคนทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์สิ่งแวดล้อมเลวร้ายลงทุกปี แต่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของไทยในปีที่ผ่านมา กลับระบุว่าดีขึ้นและทรงตัว ไม่มีด้านใดที่เลวร้ายลง

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ

หนี้ครัวเรือน-สังคมสูงวัย ฉุดเศรษฐกิจไทยโตต่ำ

ปัญหาเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจไทยพูดกันมานาน แต่ยังไม่มีรัฐบาลไหนแก้ไขได้ เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว รัฐบาลในแต่ละยุคก็มักจะใช้มาตรการกระตุ้นระยะสั้น แต่จากสถานการณ์หลังโควิด-19 หลายประเทศพื้นตัวเร็ว แต่ไทยยังย่ำแย่ สะท้อนให้เห็นปัญหารุนแรงขึ้นจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูงและสังคมสูงอายุ ฉุดบริโภคในประเทศ

สหรัฐฯเพิ่มบทบาท ในลุ่มน้ำโขง

สหรัฐฯเพิ่มบทบาท ในลุ่มน้ำโขง

สหรัฐฯ กำลังเพิ่มบทบาทในลุ่มน้ำโขงมากขึ้น จากการขอปรับปรุงร่างแผนดําเนินการหุ้นส่วนลุ่มน้ำโขง-สหรัฐฯ ค.ศ. 2024 -2026 ในการประชุมรัฐมนตรีหุ้นส่วนลุ่มน้ำโขง-สหรัฐฯ ครั้งที่ 3 และจะเป็นประธานร่วมกับไทยในปี 2568

“ไทย-เกาหลี”ตีกรอบร่วมมือ แก้ปัญหาผีน้อย

“ไทย-เกาหลี”ตีกรอบร่วมมือ แก้ปัญหาผีน้อย

ไทย-เกาหลี เตรียมลงนามบันทึกความเข้าใจแก้ปัญหาแรงงานเข้าประเทศผิดกฎหมาย หรือ ผีน้อย เพื่อทำให้เกิความชัดเจนในกระบวนการทำงาน ตั้งแต่การจัดหา จนถึงพำนักในเกาหลี

แนวเขตทับลาน เทียบแผนที่3ฉบับ เหลือพื้นที่เท่าไร

แนวเขตทับลาน เทียบแผนที่3ฉบับ เหลือพื้นที่เท่าไร

ปัญหาความขัดแย้งเรื่องที่ดินบริเวณอุทยานแห่งชาติทับลาน เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ เมื่อประกาศเขตอุทยานแห่งชาติและมีการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวน ซึ่งภาครัฐพยายามแก้ไขด้วยการ "ขีดเส่นแบ่ง" เพื่อให้เกิดความชัดเจน แต่ที่สำคัญคือ มีการใช้แผนที่หลายฉบับ ทำให้เกิดปัญหาว่าจะใช้แผนที่ฉบับไหน แม้แต่หน่วยงานรัฐ

หน้า 12/34