สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อของญี่ปุ่น กังวลอัตราการเกิดของไทยต่ำและสังคมสูงอายุ ฉุดการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว ส่วนเรื่องสัดส่วนหนี้สาธารณะ ยังมั่นใจว่ารัฐบาลคุมอยู่ ไม่เกิน 70% ของจีดีพี
ปี 2567 เป็นปีที่สังคมเข้าสู่ "สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์" หรือ Complete aged society เมื่อสัดส่วนผู้มีอายุเกิน 60 ปีกว่า 20% โดยรูปร่างหน้าของสังคมสูงอายุไทย มีผู้สูงวัย 14.03 ล้านคน ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับผู้อื่น และอยู่คนเดียวมากขึ้น มีรายได้หลักจากบุตรหลานและ 1 ใน 3 ยังต้องทำงาน
ปี 67 กองทุนประกันสังคมมีผลตอบแทน 7.19 หมื่นล้านบาท แต่รายจ่ายสิทธิประโยชน์กว่า 130,000 ล้านบาท จัดเก็บได้ 240,000 ล้านบาท เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาต้องปรับครั้งใหญ่ เพื่อรองรับความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น หากเงินนำส่งลดจากแรงงานลด แต่รายจ่ายเพิ่มจากสังคมสูงวัย
หนี้สาธารณะยังเป็นประเด็นที่บรรดาสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือให้ความสนใจสำหรับประเทศไทย แม้ยังไม่น่าจะกังวลมาก แต่มีแนวโน้มขยับขึ้นต่อเนื่อง ทั้งจากสังคมสูงวัยที่มีแนวโน้มค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล
8 กระแสดิสรัปชันเขย่าโลก เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในหลายมิติ ในขณะที่สังคมไทยกำลังเร่งเข้าสู่สังคมสูงวัย แต่คนในสังคมยังไม่เข้าใจมากพอว่าจะเกิดอะไรขึ้น "นพ.วิจารณ์ พานิช" แนะ 5 กลยุทธ์รับสถานการณ์ ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกัน เพราะไม่ใช่เรื่องของผู้สูงอายุ แต่เป็นเรื่องของทุกคน
ขณะที่รัฐบาลพยายามผลักดันให้จีดีพีของประเทศขยายตัวมากกว่า 3% ด้วยการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้น แต่อาจไม่ง่าย เพราะศักยภาพของเศรษฐกิจไทมีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่า 2% เนื่องจากปัญหาโครงสร้าง ทั้งขีดแข่งขันของประเทศ แรงงานเข้าสู่สังคมสูงอายุ ทำให้ศักยภาพแต่กว่าทุกวิกฤตที่ผ่านมา
อัตราการเกิดของไทยลดลงเรื่อย ๆ ทำให้จำนวนการเกิดของเด็กลดน้อยลง แต่ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศไทยกำลังเผชิญกับความท้าทายสำคัญทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม ในอนาคต หากไม่มีมาตรการรองรับอย่างจริงจัง
ในปีที่ผ่าน ประเทศไทยเข้าสู่ "สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์" และกำลังจะเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับสุดยอด (Super-Aged Society) ในปี 2567 โดยผู้มีอายุเกิน 60 ปี จะมีสัดส่วนราว 28% หรือ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ