ThaiPBS Logo

แท็ก: ที่ดิน

นโยบายภาคการเมือง

ใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ทหาร

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

จัดสรรที่ดินของกองทัพ
นำร่อง 3 จังหวัด คือ อุดรธานี 20,000 ไร่ กาญจนบุรี 3,000 ไร่ และป้อมพระจุลจอมเกล้า 300 ไร่
วันที่: 31 ต.ค. 2566
ขั้นตอนดำเนินการ
กองทัพบกร่วมกับกรมธนารักษ์ สำรวจและทำสัญญา โดยให้ประชาชนทำสัญญาเช่าในราคาถูก

แจกโฉนดที่ดิน ส.ป.ก.

  • เริ่มนโยบาย
  • วางแผน
  • ตัดสินใจ
  • ดำเนินงาน
  • ประเมินผล

ความสำเร็จของนโยบาย

โฉลดเพื่อการเกษตร
เปลี่ยนที่ดินในพื้นที่ส.ป.ก. เป็นโฉนด สำหรับประชาชนในพื้นที่ เป็นโครงการแจก "โฉนดเพื่อการเกษตร"
กำหนดเกณฑ์ผู้มีสิทธิ
การจัดที่ดินยังคงเป็นไปเพื่อประกอบเกษตรกรรมตามศักยภาพของพื้นที่ โดยสามารถเปลี่ยนมือได้ระหว่างเกษตรกรที่มีคุณสมบัติด้วยกันตามที่กฎหมายกำหนด ต้องปลูกไม้มีค่าในพื้นที่ตามสัดส่วนที่ ส.ป.ก. กำหนด สามารถใช้ค้ำประกันเงินกู้กับสถาบันการเงินได้ทุกแห่ง โดยเฉพาะสถาบันการเงินของรัฐ ต้องถือครอง ส.ป.ก. 4-01 และทำประโยชน์มาไม่น้อยกว่า 5 ปี

บทความ

รัฐถือครองที่ดินเกินจำเป็น ไม่เอื้อประชาชนอยู่ดีกินดี

รัฐถือครองที่ดินเกินจำเป็น ไม่เอื้อประชาชนอยู่ดีกินดี

รัฐไทยถือครองที่ดินราว 60% ของทั้งประเทศ แต่การบริหารยังขาดความเป็นระบบเดียวกัน นำมาซึ่งปัญหาการทับซ้อนของพื้นที่มากถึง 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ ก่อให้เกิดข้อพิพาทกับชาวบ้านที่ถูกกีดกันออกจากพื้นที่ป่าดั้งเดิมมาอย่างต่อเนื่อง

เปิดรายละเอียดราชกิจจาฯ เปลี่ยนที่ดิน ส.ป.ก.4-01 เป็นโฉนด

เปิดรายละเอียดราชกิจจาฯ เปลี่ยนที่ดิน ส.ป.ก.4-01 เป็นโฉนด

หลัง ร.อ. ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบาย ยกระดับเอกสารสิทธิเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ล่าสุด ราชกิจจาฯ ลงประกาศระเบียบเพิ่มเติม เปลี่ยนที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็น ‘โฉนดเพื่อการเกษตร’ มีผลบังคับใช้ 9 ธ.ค. 2566