บทความ
วิเคราะห์หลังเลือกตั้งสหรัฐ คาดอาเซียนได้ประโยชน์
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ที่จะมีขึ้น 5 พ.ย. 67 เป็นตัวแปรที่กำหนดทิศทางนโยบายของสหรัฐฯ ในอีก 4 ปีข้างหน้า ซึ่งจะส่งผลต่อไปยังแนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ รวมถึงเศรษฐกิจโลก
OECD เริ่มกระบวนการ รับไทยเข้าเป็นสมาชิก
OECD เริ่มเดินหน้ากระบวนการเข้าเป็นสมาชิกของประเทศไทย เป็นประเทศที่สองในอาเซียนต่อจากอินโดนีเซีย หวังการวิเคราะห์ทบทวนนโยบายสาธารณะอย่างเคร่งครัด จะช่วยผลักดันระเบียบวาระการปฏิรูป เพื่อที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายเป็นประเทศที่มีรายได้สูงภายในปี 2580
จับตาสงครามการค้ารอบใหม่ หลังเลือกตั้งสหรัฐฯ
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯกำลังถูกจับตา เพราะนโยบายทั้งพรรคพับลิกันและพรรคเดโมแครตมีแนวโน้มกีดกันการค้ามากขึ้น ท่ามกลางความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ แต่นโยบาย 'ทรัมป์' จะมีระดับความแรงมากกว่าคู่แข่ง โดยเฉพาะการขึ้นภาษีสินค้าจีน 60% ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนของไทยอย่างมีนัยสำคัญ
ส่องมาตรการต่างประเทศ งัดกลยุทธ์สู้สินค้าจีนท่วมโลก
ผู้ประกอบการไทยกำลังเจอปัญหาสินค้าจีนราคาถูกที่เข้ามาครองตลาดอย่างหนัก จนแทบจะแข่งขันไม่ได้ และอาจสร้างผลเสียต่อเศรษฐกิจประเทศในอนาคต โดยในต่างประเทศก็ได้รับผลกระทบนี้เช่นกัน และก็มีมาตรการต่าง ๆ ออกมารับมือสินค้าจีน เพื่อปกป้องผู้ประกอบการในประเทศของตนเอง
เทียบนโยบาย "เดโมแครต-รีพับลิกัน" กระทบไทยแค่ไหน?
การเลือกตั้งสหรัฐฯที่จะกำลังจะเกิดขึ้นในเดือน พ.ย.นี้ จะเป็นตัวกำหนดทิศทางเศรษฐกิจการเมืองโลกอีกครั้ง เมื่อ "โดนัลด์ ทรัมป์" กลับมาชิงตำแหน่งประธานาธิบดี เพราะหากเขาชนะเลือกตั้งก็เชื่อว่านโยบายสหรัฐฯจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในหลายเรื่อง และจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเมืองโลก รวมถึงไทย
จีนทุบราคา-แพลตฟอร์มออนไลน์ฮิต ธุรกิจไทยอาการหนัก
ธุรกิจไทยกำลังย่ำแย่ จากสินค้าจีนคุณภาพดีราคาถูกกว่าตีตลาดหนัก ทั้งผ่านการนำเข้าและแพลตฟอร์มออนไลน์ แม้ว่าจะเป็นผลดีต่อผู้บริโภค แต่หากรัฐบาลไม่เร่งหามาตรการรับมือ จะส่งผลกระทบหนักต่อเศรษฐกิจไทย
ยุโรปคุมเข้มใช้ปัญญาประดิษฐ์ บีบธุรกิจทั่วโลกปรับตัว
ธุรกิจทั่วโลกมีการใช้ AI กันมากขึ้น ป้องกันความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ สหภาพยุโรป จึงเริ่มบังคับใช้กฎหมายควบคุม AI อย่างเข้มงวด เพื่อส่งเสริมความโปร่งใส ความรับผิดชอบ และความไว้วางใจของสาธารณะ
เตรียมรับสงครามการค้าสหรัฐ-จีน ไทยกระทบหนักสุดในอาเซียน
สหรัฐ-จีน เปิดสงครามการค้ารอบใหม่ ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกยังรุนแรง คาดหากสหรัฐลดการนำเข้าจากจีน อาเซียนจะได้ประโยชน์ แต่ไทยได้ประโยชน์น้อยสุดในอาเซียน
รัฐบาลผวาใบเหลืองประมง ฟื้นคณะทำงานเจรจาอียู
รัฐบาลตั้งทีมทำงานร่วม ไทย–อียู เจรจาปัญหาประมงผิดกฎหมาย หรือ IUU หลังยุิติบทบาทไปกว่าปีครึ่ง คาดเร่งเจรจาก่อนประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสไทย-อียู หวั่นกระทบเจรจาเอฟทีเอ
คว่ำบาตรเมียนมาสะเทือนไทย เตรียมรับค่าไฟฟ้าแพง
การคว่ำบาตรเมียนมาของชาติตะวันตก กระทบต่อไทยในการซื้อก๊าซฯจากเมียนมาเพื่อนำมาผลิตไฟฟ้า เพราะต้องนำเข้าก๊าซฯจากที่อื่นมากขึ้น ซึ่งอาจทำให้ต้นทุนผลิตไฟฟ้าแพงขึ้น รวมถึงการปรับขึ้นค่า Ft
แก้กฎหมายประมง พาไทยเสี่ยงเจอ"ใบเหลือง" กระทบเจรจา FTA
ไทยกำลังเผชิญกับความเสี่ยงอีกครั้ง หลังรัฐบาลเดินหน้าแก้กฎหมายประมง จากนโยบาย "ทวงคืนเจ้าสมุทร" ของพรรคเพื่อไทย โดยมีการแก้กฎระเบียบหลายด้าน โดยยูอีจับตาสถานการณ์ด้านการทำประมงที่กำลังจะเกิดขึ้น ทำให้ไทยกลับไปสู่จุดเดิม ในเรื่อง "IUU" และทำให้การเจรจา FTA กับอียูล้มเหลว
เซลส์แมนทางการทูต กระชับสัมพันธ์"ไทย-ฝรั่งเศส"
นายกรัฐมนตรีเผชิญกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้นในเรื่องการเดินทางไปต่างประเทศบ่อยมาก ท่ามกลางกระแสการเมืองในประเทศเริ่มร้อนแรง โดยเฉพาะประเด็น ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และเริ่มมีคำถามถึงผลงานรัฐบาลในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
"เอฟทีเอ" ทางรอดส่งออกไทย รับมือกีดกันการค้าโลก
สินค้าไทยกว่า 50% ของมูลค่าการส่งออกรวม ได้รับสิทธิตามข้อตกลงทางการค้าเสรี (FTA) ซึ่งช่วยลดอุปสรรคการค้าระหว่างประเทศ แต่สินค้าอื่น ๆ ที่อยู่นอกข้อตกลงดังกล่าว กำลังมีความเสี่ยงได้รับผลกระทบจากมาตรการกีดกันทางการค้าของ 3 ประเทศใหญ่ของโลก ที่กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น
จับตาบทบาทการค้าจีน-อาเซียน สัญญาณเตือนไทยต้องเร่งปรับตัว
ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา สินค้าจีนได้เข้ามามีอิทธิพลในอาเซียน เนื่องจากต้นทุนต่ำและราคาถูก ส่งผลให้หลายประเทศในกลุ่มอาเซียนรวมถึงไทยมีสัดส่วนนำเข้าสินค้าจีนที่สูงขึ้น ซึ่งในระยะยาวอาจทำให้ผู้ประกอบการในประเทศแข่งขันในตลาดได้ยาก หากไม่รีบปรับตัวเพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้
เอฟทีเอ "ไทย-ศรีลังกา" ประเทศที่ 2 ในเอเซียใต้
ความตกลงการค้าเสรี (FTA) ไทย-ศรีลังกา นับเป็นฉบับแรกในรัฐบาลเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรมว.คลัง นับว่าเป็นความคืบหน้าในนโยบายของรัฐบาลมากที่สุด ตามนโยบาย "การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก"
ไทย-กัมพูชา ยกระดับความสัมพันธ์ “หุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์”
ไทย-กัมพูชา ลงนามและแลกเปลี่ยนเอ็มโอยู 5 ฉบับ ยกระดับความสัมพันธ์สู่การเป็น “หุ้นส่วนเชิงยุทธศาสตร์” พร้อมความร่วมมือพัฒนาพื้นที่ชายแดน ทั้งด้านพลังงานและท่องเที่ยว
ไทยเป็นสมาชิก OECD "ไม่ง่าย" ใกล้ความจริงอีก 2 ปี
รัฐบาลยังเผชิญกับการท้าทายหลายด้าน ในเรื่องการปฏิรูปกฎระเบียบในประเทศในหลายประเด็น หลังจากเดินหน้ายื่นหนังสือแสดงเจตจำนงขอเข้าเป็นสมาชิก OECD เมื่อเข้าสู่ความร่วมมือในระยะเวลา 3 ปี พ.ศ. 2566 – 2568
จาก“การทูตเชิงรุก-การทูตเพื่อเศรษฐกิจ”ยุคทักษิณ สู่ “การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก”ยุคเศรษฐา
นโยบายต่างประเทศ หรือ “การทูตทักษิณ” ได้รับการยกย่องว่ามีความโดดเด่นมากที่สุดยุคหนึ่งของไทย แม้จะเผชิญกับเสียงวิพากษ์วิจารณ์มากมาย แต่การทูตจากยุคนั้นได้กลายเป็นเครื่องหมายการค้าของพรรคไทยรักไทยในอดีตเรื่อยมากจนถึงยุคหลังกลายมาเป็นพรรคเพื่อไทย
มีอะไรใหม่ใน“การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก” กับการกลับมาการทูตยุค"ทักษิณ"
รัฐบาลพรรคเพื่อไทย ปัดฝุ่นไอเดีย "Team Thailand" ซึ่งเป็นนโยบายตั้งแต่สมันนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร วางกรอบนโยบาย “การทูตเศรษฐกิจเชิงรุก” ให้กระทรวงการต่างประเทศ ขับเคลื่อนนโยบายต่างประเทศสู่ยุคใหม่ เป็น “การต่างประเทศที่คนไทยจับต้องได้”
นโยบายต่างประเทศ ความท้าทายในโลกยุคแบ่งขั้ว-เลือกข้าง
ในช่วงเวลากว่า 9 ปีภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นโยบายทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการดำเนินการทางการทูตของไทยถูกจับจ้องและถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างต่อเนื่อง ทั้งท่าทีต่อวิกฤติในเมียนมา การวางตัวท่ามกลางการแข่งขันในด้านภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitical rivalry) แม้แต่บทบาทของไทยในเวทีอาเซียน
ทำไมต้อง Policy Watch
การเลือกตั้งที่ผ่านพ้นไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 ถูกมองว่าเป็นการเลือกตั้งครั้งสำคัญที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นการเลือกตั้งที่สร้างความคาดหวังว่าจะพาประเทศไทยพ้นเงาของอำนาจการเมืองที่ครอบงำประเทศมาเป็นเวลากว่า 8 ปี