บทความ
14 ปี จากมติ ครม. สู่กฎหมายชาติพันธุ์
ใกล้ความจริงมากขึ้น เมื่อ กมธ.วิสามัญ “ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ พ.ศ. …” พิจารณากฎหมายครบทั้ง 35 มาตรา เร่งเดินหน้าหาฉันทามติ 3 ประเด็นละเอียดอ่อนให้จบภายใน ส.ค.นี้ เป็นของขวัญรับ “วันชนเผ่าพื้นเมืองโลก” ก่อนส่งสภาฯ เข้าสู่การพิจารณาในวาระ 2
พื้นที่คุ้มครองชาติพันธุ์ "แม่ปอคี-เกาะหลีเป๊ะ" บทพิสูจน์กฏหมายสำคัญ
ผ่านมา 13 ปี มีการประกาศพื้นที่คุ้มครองกลุ่มชาติพันธุ์รวม 23 แห่ง โดยล่าสุด ชุมชนปกาเกอะญอ-ชุมชนชาวเลอูรักลาโว้ย เริ่มดำเนินการแผนยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่ ขณะที่ร่างกฎหมายอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภา แต่เป็นเพียงขั้นเริ่มต้น เส้นทางความสำเร็จยังอยู่อีกยาวไกล
ครม.รับพิจารณาร่าง พ.ร.บ.สภาชนเผ่าพื้นเมือง
ครม.รับพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ที่นายศักดิ์ดา แสนมี่ กับประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 12,888 คน เป็นผู้เสนอ กำหนดเวลาในการพิจารณา 60 วัน
ร่างกฎหมายคุ้มครองวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ ให้สิทธิที่ดินทำกิน-ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
รัฐบาลอนุมัติร่างกฎหมายคุ้มครองและส่งเสริมวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ กำหนดเขตพื้นที่คุ้มครองวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์ เพื่อให้เข้าถึงสิทธิที่อยู่อาศัย ประกอบอาชีพ และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ในพื้นที่คุ้มครองได้ตามกฎหมายกำหนด แต่ต้องไม่ทำลายความหลากหลายทางชีวภาพและกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
โอกาสและทิศทาง พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ ใต้อุ้งมือรัฐบาลเศรษฐา
กระแสเรียกร้องให้คุ้มครองสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์มีเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันมีร่างกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้จากสภาชนเผ่าพื้นเมือง ภาคการเมือง และภาคประชาชน Policy Watch นำบทวิเคราะห์ โดย อภินันท์ ธรรมเสนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ที่สะท้อนถึงสถานการณ์ ความท้าทาย และโอกาสของ พ.ร.บ.ชาติพันธุ์ในปัจจุบัน
ทำไมต้อง Policy Watch
การเลือกตั้งที่ผ่านพ้นไปเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 ถูกมองว่าเป็นการเลือกตั้งครั้งสำคัญที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นการเลือกตั้งที่สร้างความคาดหวังว่าจะพาประเทศไทยพ้นเงาของอำนาจการเมืองที่ครอบงำประเทศมาเป็นเวลากว่า 8 ปี